กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ในเขตเทศบาลนครสงขลา ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
(นางพันทิพย์ สุวรรณวงศ์) ตำแหน่ง ประธานชมรมบานไม่รู้โรย

ชื่อโครงการ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ในเขตเทศบาลนครสงขลา

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7250-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ในเขตเทศบาลนครสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ในเขตเทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7250-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานของชมรมบานไม่รู้โรย ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๐ ได้ดำเนินงานจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของชมรมอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลา ๑3 ปีแล้ว ปัจจุบันมีจำนวนสมาชิกทั้งหมด ๔43 คน พบว่าสมาชิก      และประชาชนทั่วไปให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมบานไม่รู้โรย ได้แก่ การประชุมสมาชิกเป็นประจำ  ทุกเดือน เพื่อเรียนรู้การดูแลตนเอง การส่งเสริมความรู้ด้านนวัตกรรมจากวิทยากรและแลกเปลี่ยนประสบการณ์    จากสมาชิกด้วยกัน กิจกรรมสมุนไพรแช่เท้าดูแลผู้ป่วย กิจกรรมเมนูชูสุขภาพลดหวานมันเค็ม กิจกรรมรดน้ำดำหัว  ขอพรผู้ใหญ่ กิจกรรมพบปะสังสรรค์วันบานไม่รู้โรย กิจกรรมกีฬาสัมพันธ์ นันทนาการ กิจกรรมเยี่ยมเพื่อนสมาชิกที่เจ็บป่วยนอนโรงพยาบาลและตัวแทนของชมรมเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของเทศบาลนครสงขลา ทำให้ชมรมบานไม่รู้โรยมีความเข้มแข็งเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง
ชมรมบานไม่รู้โรย ซึ่งเป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จึงเห็นความสำคัญในการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้ง ๕5 ชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา เพื่อให้การดูแลส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วย พร้อมทั้งลดการใช้ยาแผนปัจจุบันในการรักษาและเพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้าน เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองได้ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่างปกติสุข จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้สมาชิกชมรมบานไม่โรยสามารถลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรย มีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนไม่เกิน 5 %


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑. กิจกรรมเวทีการเรียนรู้นวัตกรรมและรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ชีวิตวิถีใหม่      (New Normal)   - สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติตน  เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง และเกิดการเรียนรู้นวัตกรรมและรูปแบบการดูแลสุขภาพมากขึ้น โดยมีการจัดกิจกรรมกิจกรรมเวทีการเรียนรู้นวัตกรรมและรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ชีวิตวิถีใหม่      (New Normal) ทุกวันพุธที่ ๒ ของเดือน ณ อาคารอเนกประสงค์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ * วันที่ 10 มีนาคม ๒๕๖4  - กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ และผู้ป่วย
    โรคเรื้อรัง โดย น.ส.กัลยรัตน์  ถิ่นถลาง นักกายภาพบำบัด
    ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง และร้อยตำรวจตรีสวัสดิ์ พวงแก้ว
    อสม.ชุมชนหลังวัดอุทัยธาราม * วันที่ 8 เมษายน 2564    - กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง “ สุขภาพจิตเพื่อป้องกันภาวะอัลไซเมอร์
    ในผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ” โดยคุณซัมพูเด็ง มีนา
                      นักสุขศึกษาปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
    2. กิจกรรม เมนูชูสุขภาพ ลดหวานมันเค็ม โดยคุณวันดี  อำพันธ์ทอง นำเสนอเมนู “แกงเลียง ลดหวาน ลดเค็ม ใส่ใจสุขภาพ” ซึ่งจัดในวันที่ 15 สิงหาคม 2565 ณ อาคารอเนกประสงค์ ศูนย์บริการสาธารณสุข  เตาหลวง
    3. กิจกรรมสมุนไพรแช่เท้า ดูแลผู้ป่วย โดยคุณมรกต กมล แพทย์แผนไทย ศูนย์บริการสาธารณสุข  เตาหลวง” ซึ่งจัดในวันที่ 4 กรกฎาคม 2565 ณ อาคารอเนกประสงค์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 4. กิจกรรมรวมพลังสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง   - จัดกิจกรรมรวมพลังสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างสมาชิกด้วยกัน ซึ่งจัดในวันที่ 14 กันยายน ๒๕๖5 ณ อาคารอเนกประสงค์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง โดยมีวิทยากรให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในวัยสูงอายุ โดยคุณสุกัญญา นมาภรณ์ นักวิชาการสาธารณสุข ศูนย์บริการสาธารณสุขเตา พร้อมกิจกรรมสันทนาการและแข่งขันกีฬาร่วมกันระหว่างสมาชิก เพื่อสร้างความสามัคคี และความกลมเกลียวกันในชมรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้สมาชิกชมรมบานไม่โรยสามารถลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังได้
    ตัวชี้วัด : ๑. สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรย มีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนไม่เกิน 5 %
    0.00
    • สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยไม่มีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน คิดเป็น ๐ % (จากแบบบันทึกการตรวจสุขภาพประจำปี)

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80 80
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้สมาชิกชมรมบานไม่โรยสามารถลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L7250-2-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( (นางพันทิพย์ สุวรรณวงศ์) ตำแหน่ง ประธานชมรมบานไม่รู้โรย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด