กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานเชิงรุกในชุมชน ปี 2564 รพ.สต.บ้านสวนเรียน
รหัสโครงการ 64 - L5214 - 1 - 03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านสวนเรียน
วันที่อนุมัติ 22 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 26 กุมภาพันธ์ 2564
งบประมาณ 28,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านสวนเรียน โดย นางอุไรพร จันทะโน ผอ.รพ.สต.บ้านสวนเรียน
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.163,100.542place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 14 ม.ค. 2564 14 ม.ค. 2564 28,650.00
รวมงบประมาณ 28,650.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1157 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
55.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
29.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุหลายปัจจัยเสี่ยงที่เกิดมาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไท่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกายและไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิโรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้องรัง โรคหัวใจหลอดเลือด แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้วเป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ทาง รพ.สต.บ้านสวนเรียนจึงเห็นความสำคัญและปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อจะให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคระยะเริ่มแรกสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่โรคความดัน เบาหวานได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

55.00 40.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

29.00 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 ประชุม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 38 0.00 1 0.00
21 ธ.ค. 63 ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ทบทวนความรู้ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขตรับผิดชอบของตัวเอง 38 0.00 0.00
2 คัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 1157 28,650.00 1 28,650.00
1 - 31 ม.ค. 64 ดำเนินการให้บริการตรวจคัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 1,157 28,650.00 28,650.00
3 ติดตามกลุ่มเสี่ยงเพื่อรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 1157 0.00 1 0.00
1 ก.พ. 64 - 2 เม.ย. 64 ติดตามกลุ่มเสี่ยงเพื่อรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1,157 0.00 0.00
4 ส่งต่อในรายที่ผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 1157 0.00 0 0.00
1 มี.ค. 64 - 30 ส.ค. 64 ส่งต่อในรายที่ผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ 1,157 0.00 -
5 สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 0 0.00
15 ก.ย. 64 สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ 0 0.00 -

1.ขั้นเตรียมการ

  • เตรียมกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรองให้กับ อสม.

  • ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ทบทวนรู้ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขตรับผิดชอบของตัวเอง

2.ขั้นดำเนินการ

  • ดำเนินการให้บริการตรวจคัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

  • ติดตามกลุ่มเสี่ยงเพื่อรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  • ส่งต่อในรายที่ผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ

  • บันทึกผลการคัดกรองในโปรแกรม JHCIS

  • สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ.....

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและสามารถรู้ว่าตัวเองอยู่ในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มป่วย

2.ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่และลดภาวะโรคแทรกซ้อนต่างๆ

3.ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้อง

4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 5.กลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อพบแพทย์ได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2564 10:23 น.