โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ”
ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางวรรณนา บูแมนิแล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019
ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2536-5-01 เลขที่ข้อตกลง 64-L2536-5-01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2536-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ระบาดอีกครั้ง เนื่องมาจากแรงงานต่างด้าวที่ลักลอบเข้ามาในประเทศไทย ซึ่งทำให้ประชาชนคนไทยได้รับเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ตามไปด้วย ปัจจุบันมีผู้ป่วยสะสมภายในประเทศไทยรวมทั้งสิ้น 10547 คน ข้อมูล ณ วันที 11 มกราคม 2564 ในระลอกแรก โดยในระลอกแรกเป็นการระบาดของผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศเข้าสู่ประเทศไทย และแพร่เชื้อ ให้กับกลุ่มคนที่มีความใกล้ชิดกับชาวต่างชาติ หรือในกลุ่มอาชีพผู้ให้บริการ แตกต่างจากการระบาดในระลอกใหม่ที่มี การแพร่ระบาดในกลุ่มคนไทยในลักษณะของการพบปะสังสรรค์ ซึ่งทำให้การแพร่กระจายของเชื้อเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยคนกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อจากการระบาดครั้งนี้จะเป็นบุคคลในกลุ่มวัยทำงาน ที่มีอายุระหว่าง 25-60 เป็นกลุ่มที่ มีการเคลื่อนย้ายสูง และมีการติดต่อสัมผัสผู้คนเป็นจำนวนมาก ซึ่งผู้ติดเชื้อทึ่พบอยู่ขณะนี้ส่วนหนึ่งมาจากการสังสรรค์ ในช่วงเทศกาลปีใหม่ที่ผ่านมา เป็นการระบาดในรูปแบบกลุ่มก้อนใหญ่ และอีกส่วนเป็นผู้ติดเชื้อที่เป็นผู้สัมผัสกับผู้ติด เชื้อยืนยันรายก่อนหน้าทั้งที่สามารถระบุได้ และไม่สามารถระบุได้เป็นการติดเชื้อในกลุ่มเล็ก ๆ ที่สามารถจบลงเองได้ ด้วยมาตรการระยะห่าง ดังนั้นการควบคุมโรค อาจใช้มาตรการที่มุ่งเน้นที่การควบคุมโรคในกลุ่มก้อนใหญ่ เพื่อลดการ แพร่กระจายไปในวงรอบต่อไป ซึ่งสามารถป้องกันตัวเองได้ โดยการ ปฏิบัติตามมาตรการ สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ลดการเดินทางที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะสถานที่เสี่ยงที่มีคนรวมกันอยู่อย่างแออัด และแสกนไทยชนะ หรือใช้หมอชนะเมื่อเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ และหากมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หรือจมูกไม่รับกลิ่น ให้รีบพบแพทย์และเปิดเผยประวัติการเดินทางให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (3) กําหนดให้องค์การบริหารส่วนตําบลมีหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ และ พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (19) องค์การบริหารส่วนตําบลมีอํานาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการ รักษาพยาบาล เพื่อให้การดําเนินการควบคุมการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ตําบลปูโยะ เป็นไป ตามนโยบายของรัฐบาลและมาตรการคัดกรอง แยกกัก กักกัน หรือคุมไว้สังเกต ที่คณะกรรมการโรคติดต่อ แห่งชาติกําหนด องค์การบริหารส่วนตําบลปูโยะจึงได้จัดทําโครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การคัดกรองประชาชนที่มาใช้บริการสถานที่ราชการในตำบลปูโยะและกลับผู้ถูกกักใน(LQ)
- การประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019
- การป้องกันและแก้ปัญหาโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 การกักกันเพื่อแยกสังเกตอาการที่บ้าน(HQ)ในตำบลปูโยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ทำให้สถานที่ราชการและหน่วยบริการภายในตำบลปูโยะปราศจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ทำให้สามารถป้องกันและแก้ไขโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในศูนย์กักกัน(LQ)ตำบลปูโยะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019
วันที่ 7 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ค่าเช่าเครื่องเสียง จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 5000 บาท
ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 14520 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทำให้ประชาชนตระหนักที่จะได้รับการฉีดวัคซีน
1,000
0
2. การคัดกรองประชาชนที่มาใช้บริการสถานที่ราชการในตำบลปูโยะและกลับผู้ถูกกักใน(LQ)
วันที่ 30 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ค่าเครื่องเทอร์โมมิเตอร์แบบขาตั้ง จำนวน 4 เครื่อง เป็นเงิน 10,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทำให้เกิดการคัดกรองเบื้องต้นและป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานที่ราชการ
1,000
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การคัดกรองประชาชนที่มาใช้บริการสถานที่ราชการในตำบลปูโยะและกลับผู้ถูกกักใน(LQ) (2) การประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (3) การป้องกันและแก้ปัญหาโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 การกักกันเพื่อแยกสังเกตอาการที่บ้าน(HQ)ในตำบลปูโยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2536-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวรรณนา บูแมนิแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ”
ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางวรรณนา บูแมนิแล
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2536-5-01 เลขที่ข้อตกลง 64-L2536-5-01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2536-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ระบาดอีกครั้ง เนื่องมาจากแรงงานต่างด้าวที่ลักลอบเข้ามาในประเทศไทย ซึ่งทำให้ประชาชนคนไทยได้รับเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ตามไปด้วย ปัจจุบันมีผู้ป่วยสะสมภายในประเทศไทยรวมทั้งสิ้น 10547 คน ข้อมูล ณ วันที 11 มกราคม 2564 ในระลอกแรก โดยในระลอกแรกเป็นการระบาดของผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศเข้าสู่ประเทศไทย และแพร่เชื้อ ให้กับกลุ่มคนที่มีความใกล้ชิดกับชาวต่างชาติ หรือในกลุ่มอาชีพผู้ให้บริการ แตกต่างจากการระบาดในระลอกใหม่ที่มี การแพร่ระบาดในกลุ่มคนไทยในลักษณะของการพบปะสังสรรค์ ซึ่งทำให้การแพร่กระจายของเชื้อเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยคนกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อจากการระบาดครั้งนี้จะเป็นบุคคลในกลุ่มวัยทำงาน ที่มีอายุระหว่าง 25-60 เป็นกลุ่มที่ มีการเคลื่อนย้ายสูง และมีการติดต่อสัมผัสผู้คนเป็นจำนวนมาก ซึ่งผู้ติดเชื้อทึ่พบอยู่ขณะนี้ส่วนหนึ่งมาจากการสังสรรค์ ในช่วงเทศกาลปีใหม่ที่ผ่านมา เป็นการระบาดในรูปแบบกลุ่มก้อนใหญ่ และอีกส่วนเป็นผู้ติดเชื้อที่เป็นผู้สัมผัสกับผู้ติด เชื้อยืนยันรายก่อนหน้าทั้งที่สามารถระบุได้ และไม่สามารถระบุได้เป็นการติดเชื้อในกลุ่มเล็ก ๆ ที่สามารถจบลงเองได้ ด้วยมาตรการระยะห่าง ดังนั้นการควบคุมโรค อาจใช้มาตรการที่มุ่งเน้นที่การควบคุมโรคในกลุ่มก้อนใหญ่ เพื่อลดการ แพร่กระจายไปในวงรอบต่อไป ซึ่งสามารถป้องกันตัวเองได้ โดยการ ปฏิบัติตามมาตรการ สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ลดการเดินทางที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะสถานที่เสี่ยงที่มีคนรวมกันอยู่อย่างแออัด และแสกนไทยชนะ หรือใช้หมอชนะเมื่อเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ และหากมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หรือจมูกไม่รับกลิ่น ให้รีบพบแพทย์และเปิดเผยประวัติการเดินทางให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (3) กําหนดให้องค์การบริหารส่วนตําบลมีหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ และ พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (19) องค์การบริหารส่วนตําบลมีอํานาจหน้าที่ในการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการ รักษาพยาบาล เพื่อให้การดําเนินการควบคุมการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ตําบลปูโยะ เป็นไป ตามนโยบายของรัฐบาลและมาตรการคัดกรอง แยกกัก กักกัน หรือคุมไว้สังเกต ที่คณะกรรมการโรคติดต่อ แห่งชาติกําหนด องค์การบริหารส่วนตําบลปูโยะจึงได้จัดทําโครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การคัดกรองประชาชนที่มาใช้บริการสถานที่ราชการในตำบลปูโยะและกลับผู้ถูกกักใน(LQ)
- การประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019
- การป้องกันและแก้ปัญหาโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 การกักกันเพื่อแยกสังเกตอาการที่บ้าน(HQ)ในตำบลปูโยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ทำให้สถานที่ราชการและหน่วยบริการภายในตำบลปูโยะปราศจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ทำให้สามารถป้องกันและแก้ไขโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในศูนย์กักกัน(LQ)ตำบลปูโยะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 |
||
วันที่ 7 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำค่าเช่าเครื่องเสียง จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 5000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทำให้ประชาชนตระหนักที่จะได้รับการฉีดวัคซีน
|
1,000 | 0 |
2. การคัดกรองประชาชนที่มาใช้บริการสถานที่ราชการในตำบลปูโยะและกลับผู้ถูกกักใน(LQ) |
||
วันที่ 30 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำค่าเครื่องเทอร์โมมิเตอร์แบบขาตั้ง จำนวน 4 เครื่อง เป็นเงิน 10,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทำให้เกิดการคัดกรองเบื้องต้นและป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานที่ราชการ
|
1,000 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การคัดกรองประชาชนที่มาใช้บริการสถานที่ราชการในตำบลปูโยะและกลับผู้ถูกกักใน(LQ) (2) การประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการโรคติดต่อเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (3) การป้องกันและแก้ปัญหาโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 การกักกันเพื่อแยกสังเกตอาการที่บ้าน(HQ)ในตำบลปูโยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2536-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวรรณนา บูแมนิแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......