กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ โครงการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก ของเทศบาลนครหาดใหญ่ ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอมรรัตน์ ลิ่มเฮง หัวหน้ากลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หาดใหญ่

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก ของเทศบาลนครหาดใหญ่

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7258-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก ของเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก ของเทศบาลนครหาดใหญ่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก ของเทศบาลนครหาดใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7258-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หัวใจพิการแต่กำเนิดเป็นสาเหตุของโรคหัวใจในเด็กกว่าร้อยละ 90 มีอุบัติการณ์ประมาณร้อยละ 1 ของเด็กเกิดใหม่มีชีวิตเหมือนกันทั่วโลก ในปีหนึ่งๆจะมีทารกเกิดใหม่ในประเทศไทย 8 แสนคน จะมีทารกเกิดใหม่เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด 8,000 คน ประมาณครึ่งหนึ่งคือ 4,000 คน มีความพิการไม่มากไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษา บางรายอาจหายเองได้ เช่น ผนังกั้นห้องหัวใจมีรูรั่วขนาดเล็ก แต่อีกครึ่งหนึ่งมีอาการ เช่น เลี้ยงไม่โต เขียว เหนื่อยเร็ว ถ้าความพิการรุนแรงอาจมีอาการตั้งแต่แรกเกิด ถ้าไม่ได้รับการวินิจฉัยและส่งต่อให้รวดเร็วอาจเสียชีวิต หรือการเจริญเติบโตช้า ขาดโอกาสในการได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที เด็กเล็กก่อนอายุ 1 ปี ที่มารับการฉีดวัคซีนที่ศูนย์บริการสาธารณสุข ถ้าได้รับการตรวจหัวใจทุกครั้งจะช่วยวินิจฉัยโรคหัวใจได้รวดเร็ว โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลายชนิดเพิ่งมาตรวจพบภายหลังอายุ 1 เดือน เด็กอนุบาลก่อนวัยเรียน สมควรได้รับการตรวจหัวใจเช่นเดียวกัน ทั้งนี้เพราะหัวใจพิการแต่กำเนิดเพิ่งตรวจพบภายหลัง เช่น atrial septal defect เป็นต้น (คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก
ศ.เกียรติคุณ นพ.บุญชอบ พงษ์พาณิชย์ : 2552) เด็กระดับประถมศึกษา ควรได้รับการตรวจร่างกายประจำปีหรืออย่างน้อยตรวจในชั้นประถมปีที่หนึ่ง ทั้งนี้เพราะโรคหัวใจบางชนิดอาจจะไม่มีอาการเด่นชัด หรือเด็กไม่ได้สังเกตตัวเองว่าเหนื่อยเร็วกว่าเพื่อน จากการตรวจคัดกรองที่ศึกษามาก่อนในหลายจังหวัดพบว่าเด็กชั้นประถม 1-6 มีโรคหัวใจ1.2 คนต่อนักเรียน 1,000 คน ส่วนใหญ่เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด 1.1 : 1,000 เป็นโรคหัวใจรูมาติก ร้อยละ 30 -40 ไม่ทราบมาก่อนและในจำนวนนี้ร้อยละ 60 – 70 ต้องรักษาด้วยการผ่าตัด อีกร้อยละ 60 – 70 ทราบว่าเป็นโรคหัวใจมาก่อน และเคยได้รับการตรวจมาแล้ว แต่ไม่สามารถไปรับการรักษาหรือผ่าตัดได้เนื่องจากต้องรอคิวผ่าตัดนาน และมีการเลื่อนการผ่าตัดหลายครั้ง จึงขาดการติดต่อบางรายความรุนแรงของโรคมากขึ้นถ้ารอไปนานๆ อาจผ่าตัดไม่ได้ คุณภาพชีวิตไม่ดีและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (มูลนิธิเด็กโรคหัวใจ : 2552) เด็ก 0-5 ปีต้องได้รับการฉีดวัคซีนที่ศูนย์บริการสาธารณสุข และยังมีอนามัยโรงเรียนซึ่งไปตรวจสุขภาพเด็กนักเรียนอยู่แล้ว การเพิ่มขีดความสามารถของพยาบาลวิชาชีพและให้ตรวจระบบหัวใจและหลอดเลือดเบื้องต้นได้ จะช่วยให้ทารกและเด็กได้รับการวินิจฉัยโรคหัวใจได้รวดเร็วและสามารถส่งต่อไปยังโรงพยาบาลและศูนย์หัวใจในพื้นที่ได้รวดเร็วและทันการ เพราะปัจจุบันมีศูนย์หัวใจของกระทรวงสาธารณสุขและมหาวิทยาลัยกระจายอยู่ตามเขตต่างๆ ทั่วประเทศเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ลดภาวะแทรกซ้อนและลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรหรือสายเกินไปที่จะให้การรักษา เนื่องจากปัจจุบันโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดทุกชนิดสามารถทำการผ่าตัดรักษาได้ผลดี ประเทศไทยมีศักยภาพในการรักษาพยาบาลมากขึ้น อีกประการหนึ่งเด็กที่เป็นโรคไข้รูมาติกหรือหัวใจรูมาติกถ้าได้รับการวินิจฉัยและรักษาได้รวดเร็ว โอกาสที่จะมีลิ้นหัวใจพิการจะลดลง เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดลิ้นหัวใจเมื่อเป็นผู้ใหญ่จึงควรจัดให้มีการสำรวจฟังเสียงหัวใจในเด็กที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข และตรวจฟังเสียงหัวใจเด็กระดับประถมศึกษาในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาทักษะของพยาบาลในการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก
  2. เพื่อคัดกรองโรคหัวใจในเด็กในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
  3. เด็กที่มีภาวะผิดปกติสามารถตรวจพบและส่งต่อเพื่อการรักษาได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    สามารถคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก 0-5 ปีและเด็กวัยเรียน ป.1 – ป.6 ได้ 100%


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมการตรวจคัดกรองโรคหัวใจในเด็กประจำปี 2560

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก 0-5 ปีและเด็กวัยเรียน ป.1 - ป.6

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาทักษะของพยาบาลในการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก
    ตัวชี้วัด : พยาบาลร้อยละ 80 มีทักษะในการคัดกรองหัวใจเด็ก

     

    2 เพื่อคัดกรองโรคหัวใจในเด็กในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้รับการตรวจคัดกรองหัวใจ

     

    3 เด็กที่มีภาวะผิดปกติสามารถตรวจพบและส่งต่อเพื่อการรักษาได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีภาวะผิดปกติ สามารถรักษาต่อได้อย่างถูกต้อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาทักษะของพยาบาลในการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก (2) เพื่อคัดกรองโรคหัวใจในเด็กในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ (3) เด็กที่มีภาวะผิดปกติสามารถตรวจพบและส่งต่อเพื่อการรักษาได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองโรคหัวใจในเด็ก ของเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7258-1-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอมรรัตน์ ลิ่มเฮง หัวหน้ากลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หาดใหญ่ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด