กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี บ้านมาบเนียน
รหัสโครงการ 64-L3326-02-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 28 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 5,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจรงค์ ก๋งทั่น
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 23 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
7.00
2 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
16.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะโภชนาการจากการขาดสารอาหารเป็นสิ่งที่พบได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กแรกเกิด- ๕ ปี ซึ่งสาเหตุที่เด็กขาดสารอาหารมีหลายสาเหตุด้วยกัน เช่น การเลี้ยงดูบุตร ความเชื่อในการบริโภคอาหารที่ผิดๆ ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ เป็นต้นซึ่งปัญหาเหล่านี้มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพเด็กทำให้เด็กมีร่างกายอ่อนแอ ภูมิคุ้มกันโรคต่ำ พัฒนาการทางด้านร่างกายและสติปัญญาจะช้าลง ดั้งนั้นการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กในวัยนี้มีความสำคัญมาก เพื่อเด็กเหล่านี้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ได้รับอาหารที่มีคุณค่า จึงจำเป็นต้องติดตามเผ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กแรกเกิด – 5 ปี โดยการชั่งน้ำหนัก และให้มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารและโภชนาการแก่ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็ก เพื่อให้เป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญาเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพสูงในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป หมู่ที่ 3 ตำบลแหลมโตนด ตามรายงานพบว่ามีเด็กอายุ ๐-๕ ปี ทั้งหมด 23 คน ได้รับการชั่งน้ำหนักทั้งหมด 23 คนคิดเป็นร้อยละ 100 เป็นเด็กน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ 22 คน เป็นเด็กน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์ 0 คน เป็นเด็กน้ำหนักค่อนข้างมาก 0 คน เป็นเด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อย 2 คน และเป็นเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ๑ คน ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่มีระดับความรุนแรงในระดับหนึ่ง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องให้ความร่วมมือกันในการแก้ปัญหาดังกล่าว ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3 ตำบลแหลมโตนด ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ๐-๕ เพื่อเฝ้าระวังการขาดสารอาหารในเด็กซึ่งจะส่งผลทำให้เด็กมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

7.00 3.00
2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

16.00 8.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 5,000.00 0 0.00
1 - 31 พ.ค. 64 จัดหาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน 0 5,000.00 -
1 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง เด็กแรกเกิด – 5 ปี 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม.มีอุปกรณ์เผ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กแรกเกิด – 5 ปี
  2. เด็ก 0-5 ปีได้รับการส่งเสริมให้ภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 5 ด้าน
  3. เด็ก 0- 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและตรวจประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการ
  4. เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติและเด็กที่มีพัฒนาการช้าได้รับการติดตาม กระตุ้น และประเมิน ภาวะโภชนาการและตรวจพัฒนาการซ้ำ ให้มีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 ธ.ค. 2563 00:00 น.