กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนไร้ขยะลดโรคติดต่อ
รหัสโครงการ 64-L7250-2-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ประธาน อสม.ชุมชนบ่อหว้า
วันที่อนุมัติ 18 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 82,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ (นายเล้ง แซ่เอี้ยว ) ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนบ่อหว้า
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่น โรคติดต่อทางระบบหายใจ(ไข้หวัดใหญ่,วัณโรค) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก,ชิกุนคุนยา) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (อุจจาระร่วง) และโรคติดต่ออื่นๆ (มือ เท้า ปาก,ฉี่หนู, โควิด-19) โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุหลักของโรคติดต่อในชุมชน เช่น ไข้เลือดออก
ชิคุนกุนยา อุจจาระร่วง ซึ่งปัญหาขยะในชุมชนเกิดจากการขาดการติดต่อสื่อสารเรื่องวันเวลาการมาเก็บขยะและการแยกประเภทขยะระหว่างเทศบาลกับชุมชนทำให้มีขยะล้นถังอยู่บ่อยๆ นอกจากนี้ชาวบ้านบางส่วนยังขาดความรับผิดชอบในการนำขยะของตนเองมาทิ้งให้ลงถังตามจุดที่เทศบาลจัดวางไว้ให้อาจเป็นเพราะมีการจัดจุดทิ้งขยะไว้ไม่เพียงพอความต้องการ ทางแกนนำชุมชนจึงจัดทำโครงการชุมชนไร้ขยะปลอดโรคขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการปฏิบัติตนในการดูแลสิ่งแวดล้อม

-จำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อลดลง

0.00
2 2.เพื่อลดจำนวนโรคติดต่อในชุมชน เช่น ไข้เลือดออก ชิคุนกุนยา อุจจาระร่วง

-จำนวนครัวเรือนต้นแบบที่ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.แลกเปลี่ยนเรียนรู้การมีส่วนร่วมทำมาตรการชุมชน 2.ซาเล้งสร้างสุขสื่อสารสุขภาพ 3.กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาด Big Cleaning Day 4.กิจกรรมชุมชนช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อมไขว้ชุมชน ติดตามประเมินผลบ้านเรือนไร้ขยะน่าอยู่ หน้าบ้านน่ามองด้วยสมุนไพรป้องกันโรค

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเกิดโรคติดต่อในชุมชนน้อยลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ม.ค. 2564 10:34 น.