กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ เด็กเล็กปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีพัฒนาการสมวัย ศพด.บ้านนาทอน ”

ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
1.นางสุกัลยา สอเหลบ 2.นางนิตยา หีมปอง 3.นางสาวสุไลยา ชายเกตุ 4.นางสาวนัยนา มานะกล้า 5.นางสาวศิวัชญา จิโส๊ะ 6.นางสาวสุกัญญา เกาะกลาง

ชื่อโครงการ เด็กเล็กปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีพัฒนาการสมวัย ศพด.บ้านนาทอน

ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 06/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"เด็กเล็กปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีพัฒนาการสมวัย ศพด.บ้านนาทอน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เด็กเล็กปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีพัฒนาการสมวัย ศพด.บ้านนาทอน



บทคัดย่อ

โครงการ " เด็กเล็กปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีพัฒนาการสมวัย ศพด.บ้านนาทอน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพและความปลอดภัยในเด็กปฐมวัยมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการตามวัยของเด็กปฐมวัยหรือช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิดจนถึง ๕ ขวบบริบูรณ์เป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดในชีวิต เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญหาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่ง ทำให้ไม่สามารถพัฒนาศักยภาพได้เต็มที่ ในปัจจุบันท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ทำให้สมาชิกครอบครัวในชุมชน มุ่งเน้นที่จะทำมาหากินเลี้ยงปากท้อง พ่อแม่วัยทำงานจำนวนมากต้องไปทำงานต่างถิ่นฐาน เด็กๆ ต้องอยู่กับผู้สูงอายุ และยังมีพ่อแม่วัยใส ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่ถูกต้องเหมาะสมตามวัย ปล่อยประละเลยขาดการเอาใจใส่ ปล่อยให้เด็กอยู่กับโทรศัพท์มือถือเพื่อไม่ให้เด็กรบกวน จนเกิดเป็นปัญหากับเด็ก ดังนั้น พ่อแม่ ผู้ปกครอง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และชุมชนจึงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัย ซึ่งจะเป็นรากฐานไปสู่ชีวิตที่มั่นคง และห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ รวมถึงอันตรายรูปแบบต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กได้ หากเด็กในวัยนี้ได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต
จากการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาทอนในปัจจุบันนี้มีเด็กปฐมวัย ทั้งหมด 86 คน พบว่ามีเด็กที่สงสัยว่าพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 2.33 สงสัยว่ามีสมาธิสั้น ร้อยละ11.63จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก ตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุขกำหนด คือเด็กต้องมีส่วนสูงดีและสมส่วนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 พบว่าเด็กมีส่วนสูงดีและสมส่วน ร้อยละ 65.12 ซึ่งน้อยกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด และพบว่า ร้อยละ 56.98 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 11.63 ที่ป่วยเป็นโรคหวัดบ่อยๆดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาทอน จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก การดูแล เฝ้าระวัง ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงได้จัดทำโครงการ''เด็กเล็กปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีพัฒนาสมวัย ประจำปี 2564”ขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กและผู้ประกอบอาหาร มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยของเด็ก เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และครูผู้ดูแลเด็ก ได้ดำเนินการควบคุม ดูแล เฝ้าระวังป้องกันโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กให้ได้มีความรู้ ความเข้าใจในการกระตุ้น และส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยใช้สื่อที่เหมาะตามวัย และเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาเหมาะสมตามวัย
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล เฝ้าระวัง การป้องกันโรคต่าง ๆ และส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขนิสัยที่ดีและมีทักษะในการดูแลตนเองที่เหมาะสมกับวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ
  2. กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการและคัดกรองเด็กปฐมวัยด้วยเครื่องมือ DSPM
  3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับผู้ปกครอง เรื่อง การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยใช้นิทานและสื่อสร้างสรรค์
  4. กิจกรรมผลิตสื่อสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
  5. กิจกรรมหนูน้อยรักการอ่าน
  6. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง อาหารปลอดภัยและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
  7. กิจกรรมหนูน้อยสุขนิสัยดี
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การดูแลสุขภาพในช่องปากของเด็กปฐมวัย
  9. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 86
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-ผู้ปกครองเด็กและผู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม 90

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้ผู้ปกครองเด็กได้มีความรู้ ความเข้าใจในการกระตุ้น และส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยใช้สื่อที่เหมาะตามวัย และเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาเหมาะสมตามวัย 2.ทำให้ผู้ปกครองเด็กได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแล เฝ้าระวัง ส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
3.ทำให้เด็กมีสุขนิสัยที่ดีและมีทักษะในการดูแลตนเองที่เหมาะสมกับวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กให้ได้มีความรู้ ความเข้าใจในการกระตุ้น และส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยใช้สื่อที่เหมาะตามวัย และเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการกระตุ้น และส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยใช้สื่อที่เหมาะตามวัย 2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล เฝ้าระวัง การป้องกันโรคต่าง ๆ และส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็ก ที่มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล เฝ้าระวัง และส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย 2.ร้อยละ 75 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย 3.ร้อยละ 65 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพปากที่ดี
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขนิสัยที่ดีและมีทักษะในการดูแลตนเองที่เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : 1.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขนิสัยที่ดีและมีทักษะในการดูแลตนเองที่เหมาะสมกับวัยทุกคน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 176
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 86
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0
-ผู้ปกครองเด็กและผู้ที่เกี่ยวข้อง 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม 90

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กให้ได้มีความรู้ ความเข้าใจในการกระตุ้น และส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยใช้สื่อที่เหมาะตามวัย และเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาเหมาะสมตามวัย (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล เฝ้าระวัง การป้องกันโรคต่าง ๆ และส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขนิสัยที่ดีและมีทักษะในการดูแลตนเองที่เหมาะสมกับวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ (2) กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการและคัดกรองเด็กปฐมวัยด้วยเครื่องมือ DSPM (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับผู้ปกครอง เรื่อง การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยใช้นิทานและสื่อสร้างสรรค์ (4) กิจกรรมผลิตสื่อสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย (5) กิจกรรมหนูน้อยรักการอ่าน (6) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง อาหารปลอดภัยและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย (7) กิจกรรมหนูน้อยสุขนิสัยดี (8) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การดูแลสุขภาพในช่องปากของเด็กปฐมวัย (9) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เด็กเล็กปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีพัฒนาการสมวัย ศพด.บ้านนาทอน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นางสุกัลยา สอเหลบ 2.นางนิตยา หีมปอง 3.นางสาวสุไลยา ชายเกตุ 4.นางสาวนัยนา มานะกล้า 5.นางสาวศิวัชญา จิโส๊ะ 6.นางสาวสุกัญญา เกาะกลาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด