กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา รหัส กปท. L8280

อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการป้องกันโรคขาดมือถือไม่ได้
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อาสาสมัครชุมชนบ้านสะบือรัง
กลุ่มคน
1.นางเจ๊ะมีเนาะ สะมะแอ
2.นางซานารียะ ดือราแม
3. นายมาหามะ เจ๊ะอูมา
4.นางนูรไอนีมาหามะ
5.นายอิสาเหาะ ยูโซะ
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันคนส่วนใหญ่มักจะติดโทรศัพท์มือถือ และแท็บเล็ต โดนเฉพาะคนเป็นพ่อเป็นแม่ จนบางครั้งละเลยการทำหน้าที่ของตนไป พอมารู้อีกทีลูกก็กลายเป็นเด็กติดจอไปแล้วสาเหตุหนึ่งมาจากการเลี้ยงดูลูกด้วยเครื่องมือไอทีทำให้เด็กๆ หมกมุ่นอยู่กับหน้าจอ ขาดสัมพันธ์กับคนรอบข้างส่งผลให้พัฒนาการด้านอีคิวหรือด้านอารมณ์ลดลงทำให้ผลการเรียนเรียนตกตามด้วยปัญหาสุขภาพเช่น โรคอ้วนสายตาสั้นสมาธิสั้นโรคซึมเศร้าร้ายแรงถึงขั้นฆ่าตัวตายดังนั้นพ่อแม่ผู้ปกครองหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง จำเป็นอย่างยิ่งในการตระหนักถึงภาวะเสี่ยงต่อโรคดังกล่าวช่วยกันหาแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างถูกวิธี โดยเฉพาะโรคโมโนโฟเบีย ซึ่งแปลตรงๆ คือ โรคที่ขาดมือถือไม่ได้ จัดอยู่ในกลุ่มโรควิตกกังวลชนิดหนึ่ง อาการที่พบก็อย่างเช่น ถ้าหากอยู่ในที่ปราศจากสัญญาณโทรศัพท์ ไม่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ต ก็รู้สึกหงุดหงิดกระวนกระวาย ซึ่งในบางคนที่มีอาการมากๆ อาจถึงขั้นมีอาการเครียดได้เลย และการใช้โซเชียลที่มากเกินไปเข้าข่ายปัญหาพฤติกรรมเสพติดรูปแบบหนึ่งที่อาจส่งผลกระทบในชีวิตประจำวันซึ่งปัจจุบันในวงการจิตเวชได้บรรจุการติดโซเชียล ถือเป็นโรคทางจิตเวชอย่างหนึ่งในการวินิจฉัยโรคตาม ICD 11คือ Internet Use Disorderเนื่องจากปัญหาติดโซเชียลมีเดียมักเป็นปัญหาพฤติกรรมที่เกิดร่วมกันกับโรคทางจิตเวชอาทิโรคสมาธิสั้นโรควิตกกังวลโรคย้ำคิดย้ำทำและโรคซึมเศร้าเป็นต้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านชุมชนสะบือรังได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคขาดมือถือไม่ได้ขึ้น เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือในชีวิตประจำวัน และปรับเปลี่ยนการเลี้ยงดูของพ่อแม่ ผู้ปกครองด้วยมือถือ โดยการหันมาใส่ใจ ดูแล บุตรหลานในการใช้ชีวิตและดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตให้ดี และสร้างศักยภาพของ อสม. ให้สามารถนำความรุ้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้คนในชุมชนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1.
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดร้อยละ 50
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง มหันต์ภัยมือถือ และผลเสียต่อสุขภาพ เรื่อง ทำอย่างไรไม่ให้ติดโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ จนเสียสุขภาพ เรื่อง การป้องกันโรคขาดมือถือไม่ได้
    รายละเอียด
    • ค่าอาหาร ( 50 คนๆละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ) เป็นเงิน 2,500บาท
      • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (50 คนๆละ25 บาท จำนวน 2 มื้อ) เป็นเงิน 2,500บาท
      • ค่าวิทยากร ( 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท) เป็นเงิน 3,600บาท
      • ค่าป้ายโครงการเป็นเงิน 650บาท
    • ค่าวัสดุในการอบรม (สมุด,ปากกา,แฟ้มพลาสติก) เป็นเงิน 2,450บาท
    งบประมาณ 11,700.00 บาท
  • 2. กิจกรรม รณรงค์การป้องกันโรคขาดมือไม่ได้ ทางเครื่องกระจายเสียง กิจกรรม เดินรณรงค์มหันต์ภัยมือถือ และผลเสียต่อสุขภาพ ตามชุมชน
    รายละเอียด
    • ค่าป้ายโครงการและป้ายรณรงค์ (จำนวน 2 ป้าย)เป็นเงิน 1,300บาท
    • ค่าเอกสารรณรงค์(แผ่นพับ) เป็นเงิน750บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (50 คนๆละ25 บาท จำนวน 1 มื้อ) เป็นเงิน 1,250บาท
    งบประมาณ 3,300.00 บาท
  • 3. กิจกรรม รณรงค์การป้องกันโรคขาดมือไม่ได้ ทางเครื่องกระจายเสียง
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 29 เมษายน 2564 ถึง 30 เมษายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

เขตเทศบาศบาลตำบลบูเก๊ะตา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 15,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

๑. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือในชีวิตประจำวัน และมีปรับเปลี่ยนการเลี้ยงดูของพ่อแม่ ผู้ปกครองด้วยมือถือ โดยการหันมาใส่ใจ ดูแล บุตรหลานในการใช้ชีวิตและดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตได้ดีขึ้น
๒. ทำให้ป้องกันการเกิดโรคขาดมือถือไม่ได้ ได้มากขึ้น

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา รหัส กปท. L8280

อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา รหัส กปท. L8280

อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 15,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................