แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
โดยในปัจจุบันวัฒนธรรมการบริโภคอาหาร ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมที่นิยมประกอบอาหารเพื่อบริโภคเอง โดยเปลี่ยนเป็นนิยม บริโภคอาหารนอกบ้านหรือบริโภคอาหารปรุงสําเร็จ สถานที่จําหน่ายอาหารจึงมีผลกระทบสําคัญต่อสุขภาพ ประชาชน เนื่องจากสถานที่จําหน่ายอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะอาจทําให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรค สารเคมี หรือโลหะหนัก รวมทั้งมีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อ ซึ่งกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. ๒๕๖๑ แห่งพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการร้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารอาหารต้องดำเนินการตามกฏกระทรวงอย่างเคร่งครัดเพื่อให้สถานที่จำหน่ายอาหารมีสุขลักษณะที่ดี และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส เป็นตำบลที่มีโรงเรียนสำหรับจัดการเรียนการสอนทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนรวมทั้งหมด 7 แห่ง ซึ่งในแต่ละวันโรงเรียนต้องจัดทำอาหารกลางวันเพื่อบริการแก่นักเรียน ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่ต่างๆ รวมทั้งยังมีสถานที่จำหน่ายอาหารในชุมชนสำหรับจำหน่ายอาหารปรุงสุกเพื่อการบริโภคที่ครัวเรือน และบริเวณสถานที่จำหน่ายอาหาร จึงจำเป็นต้องมีการจัดการด้านสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้องตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยมุ่งเน้นให้เกิดความสะอาดและปลอดภัยในด้านโครงสร้าง กายภาพ ชีวภาพและเคมีแก่ผู้บริโภค ปราศจากสารปนเปื้อนที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร และโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ (Foodborne diseases) รวมทั้งสารเคมีหรือโลหะหนักด้วย
-
1. 1. เพื่อเฝ้าระวังการจัดการสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียนและร้านจำหน่ายอาหาร 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารมีความเข้าใจและเห็นความสำคัญการจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัย 3. เพื่อให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนและผู้บริโภค ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยถูกสุขลักษณะ ถูกต้องตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหารตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนในตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง ได้รับการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาการ ร้อยละ 80 2.ร้านจำหน่ายอาหารในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง ผ่านเกณฑ์ Clean Food Good Taste (อาหารสะอาดรสชาติอร่อย) ≥ 2 แห่ง/ตำบล 3. ผู้ประกอบกิจการร้านอาหาร และผู้สัมผัสอาหารได้รัการอบรมการจัดการสุขาภิบาลอาหารตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. ๒๕๖๑ แห่งพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ร้อยละ 80ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 1.00
- 1. กิจกรรมที่1 ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (SI-2) ในโรงเรียนและร้านจำหน่ายอาหาร / ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มในน้ำและน้ำแข็ง (อ.11) ในโรงเรียนและร้านจำหน่ายอาหารรายละเอียด
- น้ำยาตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร(SI-2)
- ร้านอาหาร (SI-2)15 บาท/ขวด x 10 ขวด/ร้าน x 30 ร้าน= 4,500.-บาท
- โรงเรียน (SI-2)15 บาท/ขวด x 10 ขวด/โรงเรียน x 7 แห่ง= 1,050.-บาท
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก15 บาท/ขวด x 10 ขวด/ศพด. x 7 แห่ง= 1,050.-บาท
2. น้ำยาตรวจเชื้อโคลิฟอร์มในน้ำและน้ำแข็ง (อ.11)
- ร้านอาหาร (SI-2)15 บาท/ขวด x 2 ขวด/ร้าน x 30 ร้าน = 900.-บาท
- โรงเรียน (SI-2)15 บาท/ขวด x 2 ขวด/โรงเรียน x 7 แห่ง = 210.-บาท
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก15 บาท/ขวด x 10 ขวด/ศพด. x 4 แห่ง = 600.-บาท
3. ชุดตรวจวัดค่าแบคทีเรียในอาหารพร้อมอุปกรณ์การตรวจ (SI-2) 850 บ/ชุด x 2 ชุด = 1,700.-บาท
4. ชุดตรวจวัดค่าแบคทีเรียในน้ำพร้อมอุปกรณ์การตรวจ (อ.11)550 บ./ชุด x 2 ชุด = 1,100.-บาทงบประมาณ 11,110.00 บาท - น้ำยาตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร(SI-2)
- 2. กิจกรรมที่2 อบรมหลักสูตรผู้สัมผัสอาหารตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 แก่ผู้ประกอบกิจการร้านอาหาร ผู้สัมผัสอาหารในโรงครัวโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และสถานที่จำหน่ายอาหาร (จำนวน2 รุ่นรุ่นละ50 คน เนื่องจากมาตรการควบคุมโรคโคโรน่า-2019รายละเอียด
- ค่าอาหารกลางวัน 100 คน x 50 บาท x 1 มื้อ = 5,000.-บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 5,000.-บาท
- ค่าที่พักวิทยากร 2 คืน x 1,200 บาท x 1 คน = 2,400.-บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากรภายนอก 600 บาท x 12 ชั่วโมง x 1 วัน = 7,200.-บาท
- ค่าจ้างทำประกาศนียบัตร 100 อัน x 50 บาท = 5,000.-บาท
งบประมาณ 24,600.00 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 100 คน x 50 บาท x 1 มื้อ = 5,000.-บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
รวมงบประมาณโครงการ 35,710.00 บาท
1.ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารสถานที่จำหน่ายอาหารเข้าใจหลักสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง
2.ผู้บริโภคในตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง ได้รับประทานอาหารที่ถูกหลักสุขาภิบาล
3.โรงเรียนในตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง เห็นความสำคัญของการจัดอาหารที่ถูกหลักสุขาภิบาล
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................