กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนสะอาด ปราศจากไข้เลืดออก/มาลาเรีย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

1.นางสาวสารีนามะแอ
2.นายมะแอและหะ
3.นางสาวสารีพ๊ะสะมะแอ

หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๑ ต.บาละ อ.กาบัง จ.ยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ โรคได้แพร่กระจายไปเกือบทุกพื้นที่ทุกจังหวัด โดยมียุงเป็นพาหะนำเชื้อไข้เลือดออก ยุงลายมีแหล่งเพาะพันธ์ ในภาชนะที่มีน้ำขังทั้งในบ้านและนอกบ้าน เช่น โอ่ง ไห อ่าง กะลา แจกัน และกระถางต้นไม้ เป็นต้น โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่อันตราย หากไม่ดำเนินการโรคให้ทันท่วงที อาจเป็นปัญหากระทบรุนแรงต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการควบคุมและป้องกันโรคอย่างเร่งด่วน ซึ่งมาตรการที่สำคัญที่จะควบคุมโรคให้ได้ผล ต้องอาศัยการประสานงาน การมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน ทำหน้าที่ปฏิบัติงานในรูปของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคเชิงรุก คือการควบคุมและกำจัดยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำโรค โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง การกำจัดยุงลาย ทั้งกายภาพและเคมี รวมทั้งให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ และเกิดทัศนคติที่ดี พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรค
ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนสะอาด ปราศจากไข้เลือดออก/มาลาเรียโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อป้องกันและรับมือ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ชาวบ้านมีความรู้ความเข้าใจมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

 

0.00
2 เพื่อเฝ้าระวังไข้เลือดออกโดยการสำรวจและควบคุมทำลายแหล่งพันธ์ของยุงลาย

 

0.00
3 เพื่อลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก จนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขและทำให้ชุมชนน่าอยู่

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่1

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๒ มื้อ มื้อละ 25 บาท 75 คนเป็นเงิน 3,750 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน 60 X 75 เป็นเงิน4,500 บาท
  3. ขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร x 250 บาท (1 ผืน) เป็นเงิน720 บาท
  4. ค่าสมนาคุณวิทยากร 1 คน 4 ชั่วโมง x 300.-บาท x 1 วัน เป้นเงิน1,200 บาท
  5. ซื้อธงสัญลักษณ์ (ธงสี เขียว ฟ้า ส้ม คิดเป็นร้อยละ ๗๕ ของกลุมเป้าหมาย)จำนวน 20บาท x 75 คน เป็นเงิน เป็นเงิน 1,500 บาท
    รวมเป็นเงิน11,670.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11670.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,670.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชน ทุกครัวเรือนมีความตระหนักต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/มาลาเรีย
2.ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อแบบบูรณาการที่ต่อเนื่อง และยั่งยืน


>