โครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนสะอาด ปราศจากไข้เลืดออก/มาลาเรีย
ชื่อโครงการ | โครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนสะอาด ปราศจากไข้เลืดออก/มาลาเรีย |
รหัสโครงการ | 64-L4117-2-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน |
วันที่อนุมัติ | 1 มกราคม 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2564 |
งบประมาณ | 11,670.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวสารีนา มะแอ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 2 ก.พ. 2564 | 2 ก.พ. 2564 | 11,670.00 | |||
รวมงบประมาณ | 11,670.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 75 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ โรคได้แพร่กระจายไปเกือบทุกพื้นที่ทุกจังหวัด โดยมียุงเป็นพาหะนำเชื้อไข้เลือดออก ยุงลายมีแหล่งเพาะพันธ์ ในภาชนะที่มีน้ำขังทั้งในบ้านและนอกบ้าน เช่น โอ่ง ไห อ่าง กะลา แจกัน และกระถางต้นไม้ เป็นต้น โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่อันตราย หากไม่ดำเนินการโรคให้ทันท่วงที อาจเป็นปัญหากระทบรุนแรงต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการควบคุมและป้องกันโรคอย่างเร่งด่วน ซึ่งมาตรการที่สำคัญที่จะควบคุมโรคให้ได้ผล ต้องอาศัยการประสานงาน การมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน ทำหน้าที่ปฏิบัติงานในรูปของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคเชิงรุก คือการควบคุมและกำจัดยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำโรค โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง การกำจัดยุงลาย ทั้งกายภาพและเคมี รวมทั้งให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ และเกิดทัศนคติที่ดี พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรค
ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนสะอาด ปราศจากไข้เลือดออก/มาลาเรียโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อป้องกันและรับมือ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ชาวบ้านมีความรู้ความเข้าใจมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
|
0.00 | |
2 | เพื่อเฝ้าระวังไข้เลือดออกโดยการสำรวจและควบคุมทำลายแหล่งพันธ์ของยุงลาย
|
0.00 | |
3 | เพื่อลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก จนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขและทำให้ชุมชนน่าอยู่
|
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 11,670.00 | 1 | 11,670.00 | |
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 | กิจกรรมที่1 | 0 | 11,670.00 | ✔ | 11,670.00 |
- ประชุมวางแผนทีมงาน อสม.ในพื้นที่ไขเลือดออก/มาลาเรียประชาชนพื้นที่
- อบรมให้ความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/มาลาเรียประชาชนเป้าหมาย 75 ครัวเรือน
- มีการประกวดบ้านน่าอยู่ บริเวณในและรอบบ้านให้สะอาด
1.ประชาชน ทุกครัวเรือนมีความตระหนักต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/มาลาเรีย
2.ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อแบบบูรณาการที่ต่อเนื่อง และยั่งยืน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ม.ค. 2564 15:14 น.