กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง รหัส กปท. L4163

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพฟัน “หนูน้อยวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน”
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านเจาะบือแม
กลุ่มคน
1. นายแวการิน แส๊ะเด็ง
2. นางนาดียะห์ หะสาแม
3. นางโนรียะ แวมะลง
4. นางสาวยีหาน สาหาด
5. นางสาวคอรีเย๊าะ ดีปาตี
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันนี้เด็กนักเรียนส่วนใหญ่นิยมบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น ขนมขบเคี้ยว ช็อคโกแลต ขนมที่มีรสหวานต่าง ๆ เนื่องจากมีการผลิตในรูปแบบที่หลากหลาย มีความเจริญทางการโฆษณาที่น่าสนใจมากขึ้น ส่งผลให้มีการบริโภคขนมหวานเป็นจำนวนมาก โดยขนมเหล่านี้มีส่วนประกอบของแป้งและน้ำตาลสูง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคฟันผุง่ายขึ้นหากขาดการดูแลสุขภาพฟันและการแปรงฟันที่ถูกวิธี โรคฟันผุเป็นโรคที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของนักเรียน หากเกิดโรคฟันผุจะทำให้นักเรียนไม่สามารถบดเคี้ยวอาหารได้ เชื้อโรคที่อยู่ในช่องปากจะส่งผลให้เกิดอาการอักเสบ ปอดบวม อันจะส่งผลต่อสภาวะโภชนาการ การพัฒนาการด้านการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านบุคลิกภาพของนักเรียนเป็นอย่างมาก โรคฟันผุเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยใช้มาตรการการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ เช่น การใช้ฟลูออไรด์การใช้สารเคลือบหลุมร่องฟัน การแปรงฟันอย่างถูกวิธี จากการตรวจสุขภาพช่องปากของนักเรียนโรงบ้านเจาะบือแมเบื้องต้น พบว่ายังมีนักเรียนที่มีฟันผุ อันเนื่องมาจากการบริโภคขนมหวานมากจนเกินไปและการขาดการดูแลสุขภาพช่องฟันโดยเฉพาะอย่างยิ่งแปรงฟันที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพทางโรงเรียนบ้านเจาะบือแม ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพฟัน “หนูน้อยวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน” ขึ้น เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ มีทัศนคติ และการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีซึ่งจะเป็นปัจจัยที่จะสนับสนุนให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและการรักษาสุขภาพช่องปาก 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรงปราศจากปัญหาฟันผุ
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกต้อง 2. นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและการรักษาสุขภาพช่องปาก 3. นักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรงปราศจากปัญหาฟันผุ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการส่งเสริมสุขภาพฟัน “หนูน้อยวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน”
    รายละเอียด

    วิธีการดำเนินงานของกิจกรรม

    1. ประชุมหารือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

    2. เขียนโครงการและนำเสนอโครงการ เพื่อของบประมาณดำเนินโครงการ

    3. ชี้แจงรายละเอียดโครงการและกำหนดการให้กลุ่มเป้าหมาย

    4. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    5. ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมสุขภาพฟัน “หนูน้อยวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน” ดังนี้

      5.1 ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนที่แปรงฟันไม่ถูกวิธีในช่วงสัปดาห์แรกก่อนจัดโครงการฝึกอบรมโดยการใช้แบบบันทึกการสังเกตการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน

      5.2 ดำเนินการจัดโครงการโดยแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ดังนี้

      5.2.1 ช่วงเช้าเป็นการจัดกิจกรรมฝึกอบรมการบรรยายประกอบสื่อต่าง ๆ และเอกสารประกอบการอบรม เพื่อให้ความรู้กับนักเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพฟันและขั้นตอนการแปรงฟันอย่างถูกวิธี โดยมีวิทยากร 2 คน

    และนักเรียน จำนวน 126 คน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้

    • นักเรียนระดับอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 2 จำนวน 63 คน

    • นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 - 6 จำนวน 63 คน

      5.2.2 จัดกิจกรรมกลุ่มย่อยโดยให้นักเรียนนำเสนอองค์ความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกต้อง

      5.2.3 ช่วงบ่ายจัดกิจกรรมสาธิตการแปรงฟันอย่างถูกวิธี โดยให้นักเรียนทุกคนได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนการแปรงฟันอย่างถูกวิธี

      5.3 ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนที่แปรงฟันอย่างถูกวิธีหลังจากการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพฟัน “หนูน้อยวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน” โดยการใช้แบบบันทึกการสังเกตการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน

    ุ6. สรุปผลการดำเนินงาน

    งบประมาณสำหรับจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพฟัน “หนูน้อยวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน” งบประมาณ 20,000 บาท

    1. ค่าวิทยากรบรรยาย 2 คน จำนวน 4 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาทเป็นเงิน 4,800 บาท

    2. ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ 126 คน x 25 บาท 2 มื้อ (1 วัน) เป็นเงิน 6,300 บาท

    3. ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับจัดโครงการ ดังนี้

      3.1 เอกสารประกอบการอบรม 126 เล่ม เล่มละ 20 บาท เป็นเงิน 2,520 บาท

      3.2 ป้ายไวนิลขนาด 80x400 ซม. 2 ชิ้น ชิ้นละ 800 บาทเป็นเงิน 1,600 บาท

      3.3 ป้ายไวนิลขนาด 80x200 ซม. 2 ชิ้น ชิ้นละ 400 บาทเป็นเงิน 800 บาท

      3.4 โปสเตอร์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลฟันและการแปรงฟัน 10 แผ่น แผ่นละ 100 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

      3.5 แปรงฟัน 126 อัน อันละ 20 บาท เป็นเงิน 2,520 บาท

      3.6 ยาสีฟัน 9 กล่อง กล่องละ 20 บาท เป็นเงิน 180 บาท

      3.7 น้ำยาบ้วนปาก 1 ขวด ขวดละ 192 บาท เป็นเงิน 192 บาท

      3.8 ปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน 1 กล่อง กล่องละ 88 บาทเป็นเงิน 88 บาท

      รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 20,000 บาท (เงินสองหมื่นบาทถ้วน)

    งบประมาณ 20,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

การส่งเสริมสุขภาพช่องฟัน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 15 มิถุนายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านเจาะบือแม ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 20,000.00 บาท

หมายเหตุ : 20,000.00

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. นักเรียนมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกต้อง
  2. นักเรียนมีการตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและการรักษาสุขภาพช่องปาก
  3. นักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรงปราศจากปัญหาฟันผุ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง รหัส กปท. L4163

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง รหัส กปท. L4163

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 20,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................