กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน รหัส กปท. L8281

อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 (covid 19) ตำบลสุคิริน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสว.นอก
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) เชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID-19 เป็นไวรัสข้ามสายพันธุ์ที่สันนิษฐานว่าเกิดจากค้างคาวมาติดเชื้อในคน โดยเริ่มระบาดในมณฑลอู่ฮั่นของประเทศจีนในช่วงปลายปี ค.ศ.2019 จนกระทั่งมีการระบาดไปยังประเทศอื่นๆ ทั่วโลก สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลกได้ประกาศว่าการแพร่ระบาดของเชื้อดังกล่าวเป็นภัยพิบัติฉุกเฉินระดับโลก ขณะเดียวกันประเทศไทยได้ประกาศให้โรคติดเชื้อ COVID-19 เป็นโรคติดต่ออันตราย ภายใต้พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ลำดับที่ 14 เพื่อให้สามารถใช้ข้อกำหนดตาม พ.ร.บ.ดังกล่าว ในการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค สามารถควบคุมโรคได้มีประสิทธิภาพ ลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคม ปัจจุบันการระบาดขยายเป็นวงกว้างไปหลายประเทศทั่วโลก
ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าว โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์ข้อมูลการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ วันที่ 2 มกราคม 2564 (12.00 น.) ประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 7,379 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ 216 ราย รักษาหาย 4,299 ราย เสียชีวิต 64 ราย และจังหวัดนราธิวาส พบผู้ป่วยยืนยัน 44 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ 0 ราย รักษาหาย 41 ราย เสียชีวิต 2 ราย ส่วนอำเภอสุคิริน มีผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 2 ราย (ข้อมูลวันที่ ณ วันที่ 8 มีนาคม 2563 )
การป้องกันการติดเชื้อสามารถทำได้โดยหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อ COVID-19 การสัมผัสกับผู้ป่วย หรือผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ หากสงสัยว่าตนเองอาจจะได้รับเชื้อควรแยกสังเกตอาการอย่างน้อย 14 วัน ขณะแยกสังเกตอาการต้องงดการเดินทางหรืออยู่ในที่ที่มีคนหนาแน่น งดใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น และควรปฏิบัติตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด รวมถึงมีการบูรณาการทุกภาคส่วน เครื่องมือ ทรัพยากรและงบประมาณเพื่อสนับสนุนบทบาทของภาคีเครือข่าย ร่วมกันขับเคลื่อนยกระดับการรับรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้มีความรอบรู้ในการดูแลตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรการต่างๆในการรับมือการแพร่ระบาดเชื้อ COVID-19 เพราะการรับรู้และบทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ประเทศไทยผ่านพ้นวิกฤตครั้งนี้ได้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสว.นอก จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)ขึ้น เพื่อสร้างเครือข่ายในการขับเคลื่อนให้ชุมชนสามารถสื่อสารข้อมูลและการป้องกันโรคที่ถูกต้อง สามารถปรับตัวเข้ากับวิถีการดำรงชีวิตแบบใหม่เพื่อให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ COVID-19
    ตัวชี้วัด : ประชาชน มีความรอบรู้ในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจาก การติดเชื้อ COVID-19 ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 641.00 เป้าหมาย 512.00
  • 2. เพื่อให้พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง ที่ประชาชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน/สถานบริการและสถานประกอบการ /ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีการปฏิบัติตามแนวทาง/มาตรการ/มาตรฐานที่กำหนดตามเกณฑ์ความปลอดภัยจากการติดเชื้อ COVID 19
    ตัวชี้วัด : พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง ที่ประชาชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน/กลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยง/สถานบริการและสถานประกอบการ มีการปฏิบัติตามแนวทาง/มาตรการ/มาตรฐานที่ กำหนดตามเกณฑ์ความปลอดภัยจากการติดเชื้อ COVID 19 ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 12.00 เป้าหมาย 12.00
  • 3. เพื่อสร้างความเข็มแข็ง ส่งเสริมสนับสนุน บทบาทของภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ COVID
    ตัวชี้วัด : ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชนร่วมรับผิดชอบกิจกรรมการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ COVID ร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 6.00 เป้าหมาย 6.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมทีมอสม.และเครือข่าย ในพื้นที่รับผิดชอบ
    รายละเอียด

    1.1) สื่อสารความร่วมมือและสร้างความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid 19) 1.2) จัดตั้งทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน หมู่บ้าน ละ1ทีม เพื่อให้หมู่บ้านมีการดำเนินการเฝ้าระวังโรค เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมรับสถานการณ์ตลอดเวลา 1.3) จัดทำมาตรการการเฝ้าระวัง ตามแนวทางการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid 19)
    เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวังควบคุมโรคที่ถูกต้อง ตามหลักวิชาการ 1.4) สอบถามปัญหา พร้อมสำรวจจำนวนความต้องการใช้เครื่องมือ/วัสดุ ที่จำเป็นต้องใช้ในการป้องกันควบคุม
    โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid 19) เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน งบประมาณ ค่าอาหารว่าง 25 บาทx 40 คน = 1,000บาท

    งบประมาณ 1,000.00 บาท
  • 2. สำรวจข้อมูลพื้นฐานในชุมชน
    รายละเอียด

    2.1) พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง ที่มีประชาชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน             -โรงเรียน 2  โรง  ศพด.  2  แห่ง  วัด/สำนักสงฆ์  2  แห่ง กลุ่มออมทรัพย์  3 แห่ง ตลาดนัด 1 แห่ง  ร้านชำ..6 แห่ง
        2.2) ประชากรกลุ่มเสี่ยง  รวมทั้งสิ้น              จำนวน  70  คน             -กลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง      จำนวน  65  คน             (หมู่ 2 สว.นอก 24 คน , หมู่ 8 ราษฎร์ผดุง 27 คน , หมู่ 11 ซอยปราจีน 14 คน)             -กลุ่มหญิงตั้งครรภ์                            จำนวน  5  คน               (หมู่ 2 สว.นอก 2 คน , หมู่ 8 ราษฎร์ผดุง  3  คน)

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงประเมินตนเองตามมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคไวรัสโคโรน่า (covic 19)
    รายละเอียด

    1.พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงประเมินตนเองตามมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคไวรัสโคโรน่า (covic 19) 2.ดำเนินการปรับปรุงให้ผ่านตามเกณฑ์ข้อกำหนด

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. จัดซื้อ วัสดุ/เครื่องมือ
    รายละเอียด

    จัดซื้อ วัสดุ/เครื่องมือ ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรค และสนับสนุนให้แก่ พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง/ประชากร กลุ่มเสี่ยง ในพื้นที่รับผิดชอบ งบประมาณ ค่าวัสดุ 1.ซื้อ เจลแอลกอฮอล์ขนาด 450ml จำนวนX 20 ขวด X 250 บาท = 5,000 บาท
    2.ซื้อ โทโมมิเตอร์วัดไข้แบบดิจิทัล(วัด/สำนักสงฆ์/หมู่บ้าน/รพ.สต.)
    จำนวน X 6 เครื่อง X 3,000 บาท = 18,000 บาท

    งบประมาณ 23,000.00 บาท
  • 5. สร้างเครื่องมือประเมินความรู้และพฤติกรรมในการป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019/แบบทดสอบสุขภาพจิต
    รายละเอียด

    สร้างเครื่องมือประเมินความรู้และพฤติกรรมในการป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019/แบบทดสอบสุขภาพจิต 5.1) แบบประเมินความรอบรู้และพฤติกรรมในการป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 5.2) แบบทดสอบด้านสุขภาพจิต โควิค 19 สำหรับประชาชน ผู้ป่วย ญาติ ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข งบประมาณ ค่าวัสดุ 1.กระดาษ A4 จำนวน5รีม X 145 บาท = 725 บาท 2.ปากกาลูกลื่น จำนวน2โหล X60 บาท = 120 บาท

    งบประมาณ 845.00 บาท
  • 6. ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ลงสำรวจและประเมินโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถาม
    รายละเอียด

    6.1) ประเมินความรอบรู้และพฤติกรรมในการป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า (covic 19)เป้าหมายทุกหลังคาเรือนในเขตรับผิดชอบ เพื่อประเมิน ความรู้และพฤติกรรมในการป้องกันตนเองและครอบครัวให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (covid 19) 6.2) ประเมินแบบทดสอบด้านสุขภาพจิต โควิค 19 สำหรับประชาชน ผู้ป่วย ญาติ โดยใช้แบบประเมินของ กรมสุขภาพจิต

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 7. สรุปผลการประเมิน/คืนข้อมูลให้ประชาชนทราบ
    รายละเอียด

    แจ้งผลการประเมินให้ประชาชนรับทราบ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 8. ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ดำเนินการเฝ้าระวังตามมาตรการ แนวทางที่กำหนดและรายงาน ผลการปฏิบัติ ให้รพ.สต.ทราบ
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 9. สรุปรายงาน ประเมินผลโครงการฯ
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ 2 บ้านสว.นอกหมู่ 8 บ้านราษฎร์ผดุงหมู่ 11 บ้านวอยปราจีน สำนักสงฆ์บ้านราษฎร์ผดุงวัดสุวรรณบรรพต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสว.นอก

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 24,845.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ประชาชน และภาคีเครือข่าย มีความรอบรู้ ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง สามารถปรับตัวเข้ากับวิถีการดำรงชีวิตแบบใหม่ เพื่อให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 2.ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายในชุมชน สามารถดำเนินการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ COVID 2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพและร่วมรับผิดชอบสังคมร่วมกัน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน รหัส กปท. L8281

อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน รหัส กปท. L8281

อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 24,845.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................