กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ปรับวิถี ชีวีเปลี่ยน เลี่ยงโรค ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุลากง

ตำบลปุลากง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

27.29
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

5.88
3 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุมได้ดี

 

40.00
4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

 

20.00
5 อัตราประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ (ติดตาม)

 

90.00
6 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง

 

50.00
7 ร้อยละประชากรกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม

 

53.33
8 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

 

60.00
9 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตได้ดี

 

56.72

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

27.29 20.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

5.88 5.00
3 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม

ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม

53.33 80.00
4 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ (ติดตาม)

ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการตรวจซ้ำ

90.00 95.00
5 เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง

ร้อยละของการป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 จากปีก่อน

50.00 40.00
6 เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

ร้อยละของการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลงร้อยละ 10 จากปีก่อน

60.00 50.00
7 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

20.00 25.00
8 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี

ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี

40.00 50.00
9 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี

ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตได้ดี

56.72 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/02/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การติดตามคัดกรองตรวจสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยการเจาะเบาหวานและความดันโลหิตซ้ำครั้งที่ 2 และ 3 (ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน)

ชื่อกิจกรรม
การติดตามคัดกรองตรวจสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยการเจาะเบาหวานและความดันโลหิตซ้ำครั้งที่ 2 และ 3 (ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 80 คน x 2 ครั้ง  เป็นเงิน  2,000 บาท
ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ (เครื่องวัดความดันโลหิต) ราคา 1,990 x 3 เครื่อง = 5,790 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลงร้อยละ 20 (จากกลุ่มเสี่ยงในครั้งที่ 1)
ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิต ลดลงร้อยละ 20 (จากลุ่มเสี่ยงในครั้งที่ 1)
ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม ร้อยละ 80
ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตาม  ร้อยละ 95

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7790.00

กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพของตนเองกลุ่มเสี่ยงด้วยการบริโภคที่ถูกต้อง เลือกออกกำลังกายที่เหมาะสมและรู้จักโรค

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพของตนเองกลุ่มเสี่ยงด้วยการบริโภคที่ถูกต้อง เลือกออกกำลังกายที่เหมาะสมและรู้จักโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 50 คนเป็นเงิน 2,5000 บาท
ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 50 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม 1,900 บาท ค่าอาหารสด/อาหารตัวอย่างในการจัดอบรม = 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละของการป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 จากปีก่อน
ร้อยละของการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ร้อยละ 10 จากปีก่อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7900.00

กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (ตา ไต เท้า) กลุ่มผู้ป่วย

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (ตา ไต เท้า) กลุ่มผู้ป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 50 คนเป็น 2,5000 บาท
ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 50 คน x 2 มื้อเป็น 2,500บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม 3,900 บาท
ค่าอาหารสด/อาหารตัวอย่างในการจัดอบรม เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 25
ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50
ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 60

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,590.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>