กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปรับวิถี ชีวีเปลี่ยน เลี่ยงโรค ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L3039-1-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุลากง
วันที่อนุมัติ 4 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 26,590.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุลากง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
27.29
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
5.88
3 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุมได้ดี
40.00
4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
20.00
5 อัตราประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ (ติดตาม)
90.00
6 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง
50.00
7 ร้อยละประชากรกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม
53.33
8 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
60.00
9 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
56.72

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

27.29 20.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

5.88 5.00
3 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม

ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม

53.33 80.00
4 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ (ติดตาม)

ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการตรวจซ้ำ

90.00 95.00
5 เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง

ร้อยละของการป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 จากปีก่อน

50.00 40.00
6 เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

ร้อยละของการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลงร้อยละ 10 จากปีก่อน

60.00 50.00
7 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

20.00 25.00
8 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี

ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี

40.00 50.00
9 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี

ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตได้ดี

56.72 60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 26,590.00 0 0.00
19 ก.พ. 64 - 31 ส.ค. 64 การติดตามคัดกรองตรวจสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยการเจาะเบาหวานและความดันโลหิตซ้ำครั้งที่ 2 และ 3 (ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน) 0 7,790.00 -
1 มี.ค. 64 - 31 ส.ค. 64 การพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพของตนเองกลุ่มเสี่ยงด้วยการบริโภคที่ถูกต้อง เลือกออกกำลังกายที่เหมาะสมและรู้จักโรค 0 7,900.00 -
1 มี.ค. 64 - 31 ส.ค. 64 การพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (ตา ไต เท้า) กลุ่มผู้ป่วย 0 10,900.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2564 05:20 น.