กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในโรงเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี

โรงเรียนบ้านโมย

1. นางคณิตา มีสุวรรณ 093 6971986
2. นางรานี อินทภูมิ
3. นางสาววิลัดดา คงยุนุ้ย
4. นางสาวนูรมา ปิยา
5. นางสาวโนรอายนา สแลแม

โรงเรียนบ้านโมย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ร้อยละของนักเรียนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มที่รสหวานจัด
ร้อยละของนักเรียนที่กินขนมอบกรอบ
ร้อยละของนักเรียนที่บริโภคอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1

นักเรียนเปลี่ยนพฤกติกรรมการบริโภคอาหาร

50.00 20.00

1. นักเรียนเลือกดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 135
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กำหนดนโยบายโรงเรียนเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
กำหนดนโยบายโรงเรียนเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • กำหนดนโยบายของโรงเรียนในเรื่องภาวะโภชนาการ
  • ประชุมผู้ปกครองนักเรียนเพื่อชี้แจงนโยบาย
  • ให้ความรู้กับผู้ปกครองในการเลือกบริโภคอาหาร
  • กำหนดนโยบายของโรงเรียนเพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
  • ประชุมผู้ปกครอวนัเรียน ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อชี้แจ้งนโยบายและให้ความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้อง

ค่าใช้จ่าย

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 120 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าป้ายประกาศนโยบาย ขนาด 2.4 x 4 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 1,320 บาท
  • ค่าป้ายไวนิลรณรงค์เลิกดื่มน้ำอัดลม อาหารไม่มีประโยชน์ อาหารหลัก 5 หมู่ ขนาด 1.2x 2.4 เมตร จำนวน 3 ป้าย ป้ายละ 430 บาท เป็นเงิน 1,290 บาท
  • ค่าป้ายไวนิลข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของเด็กวัยเรียน ขนาด 1.2x2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 430 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ร้อยละของผู้ปกครองนักเรียนที่มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
  • โรงเรียนมีนโยบายเพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6040.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการดเกี่ยวกับการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องและการจัดทำเมนูอาหารที่มีคุณภาพ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการดเกี่ยวกับการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องและการจัดทำเมนูอาหารที่มีคุณภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • อบรมให้ความรู้นักเรียนแกนนำ จำนวน 60 คน เกี่ยวกับการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้อง แต่ละกลุ่มสรุปองค์ความรู้ นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • อบรมผู้ประกอบการอาหาร,ครู,เจ้าหน้าที่อาหารกลางวัน จำนวน 14 คน เกี่ยวกับการจัดการเมนูอาหารที่มีคุณภาพและฝึกปฏบัติจริง

ค่าใช้จ่าย

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 75 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 1,875 บาท
  • ค่าวิทยกร ให้ความรู้ แกนนำ จำนวน 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าวิทยากร ให้ความรู้ผู้ประกอบอาหาร ครู เจ้าหน้าที่อาหารกลางวันเกี่ยวกับการจัดอาหารตามโปรแกรม thai school lunch จำนวน 1 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท

  • ค่าวัสดุที่ใช้ในการอบรม ดังนี้

    • กระดาษ A4 จำนวน 2 รีม รีมล 130 บาท เป็นเงิน 260 บาท
    • ค่ากระดาษปรู๊ฟ จำนวน 12 แผ่น แผ่นละ 6 บาท เป็นเงิน 72 บาท
    • ปากกาเคมี จำนวน 12 ด้าม ด้ามละ 15 บาท เป็นเงิน 180 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • นักเรียน มีความรู้และความเข้าใจการเลือกบริโภคอาหารทีู่กต้อง
  • ผู้ระกอบอาหาร ครู เจ้าหน้าอาหารกลางวัน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดเมนูอาหารที่มีคุณภาพ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4187.00

กิจกรรมที่ 3 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียน ควบคุมน้ำหนักและส่วนสูง

ชื่อกิจกรรม
การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียน ควบคุมน้ำหนักและส่วนสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเป็นประจำเดือนละ1ครั้ง(ซื้อเครื่องชั่งน้ำหนัก 1เครื่องราคา 1,250 บาท และเครื่องวัดส่วนสูงแบบมีฐานตั้ง 1 เครื่อง ราคา 1,580 บาท
  • สรุปผลค่าภาวะโภชนาการของนักเรียนทุกคนเพื่อคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
  • ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง นักเรียนทุกคน
  • สรุปผลค่าภาวะโภชนาการของนักเรียนทุกคนเทียบกับเกณฑ์มาตราฐานเพื่อคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ

  • ค่าใช้จ่าย

    • ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก 1 เครื่อง เครื่องละ 1,250 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
    • ค่าเครื่องวัดส่วนสูงแบบมีฐานตั้ง จำนวน 1 เครื่อง เครื่องละ 1,580 บาท เป็นเงิน 1,580 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • นักเรียนควบคุมภาวะโภชนาการของตนเองมีภาวะโภชนาการดีขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2830.00

กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มที่มีปัญหาทางโภชนาการในการแก้ปัญหาแลการฝึกทำอาหาร/เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มที่มีปัญหาทางโภชนาการในการแก้ปัญหาแลการฝึกทำอาหาร/เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวิทยากร ให้ความรู้ และสาธิตการฝึกทำอาหาร/เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ จำนวน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
  • ค่าเครื่องปั่น 1 เครื่อง เครื่องละ 1,500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าวัตถุดิบ /เครื่องปรุง ในการทำอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ จำนวน 3-4 เมนู เป็นเงิน 2,498 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงสมส่วนได้มาตราฐานเพิ่มขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6548.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,605.00 บาท

หมายเหตุ :
*** ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ ***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนลดการดื่มน้ำอัดลมและน้ำหวานโดยมาดื่มน้ำสมุนไพรแทน
2.นักเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค
3.นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีขึ้น


>