แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053
อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งจะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีอยู่ราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567 ซึ่งทำให้ประเทศไทยกลายเป็นประเทศแรกที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่เป็นประเทศกำลังพัฒนา ทำให้เกิดเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาวะพึ่งพิง หรือภาวะโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่าง ๆ ทั่วไปเริ่มอ่อนแอ และเกิดโรคง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม
กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของผู้สูงอายุดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2564 เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้มีความรู้ในการดูแลตัวเองและได้รับการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดภาวะเสี่ยงของโรคซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุให้ดีขึ้นต่อไป
-
1. เพื่อประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้มีความรู้ในการดูแลตัวเองตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อลดภาวะเสี่ยงของโรคซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2564รายละเอียด
ขั้นตอนการเตรียมการ
1. ร่วมกันประชุมวางแผน เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินโครงการ 2. แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ 3. ประสานดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. ประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ของ อบต. ผู้นำชุมชน เผยแพร่แนะนำ ชวนเชิญสมาชิกเพิ่มเติม 2. ดำเนินการจัดโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2564 3. ประเมินผลการดำเนินงาน ขั้นตอนสรุปผลดำเนินการ
1. สรุปผลโครงการ 2. รายงานผลโครงการ- ค่าอาหารกลางวัน 80 บาท x 1 มื้อ x 80 คน เป็นเงิน 6,400 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 2 มื้อ x 80 คน เป็นเงิน 4,000 บาท
- ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร เป็นเงิน 1,050 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าเช่าเต็นท์, เก้าอี้, เครื่องเสียง เป็นเงิน 4,500 บาท
งบประมาณ 19,550.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
องค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
รวมงบประมาณโครงการ 19,550.00 บาท
- ประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ
- ส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้มีความรู้ในการดูแลตัวเอง
- สามารถลดภาวะเสี่ยงของโรคซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053
อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053
อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................