แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต รหัส กปท. L2479
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
นางฮาดีบ๊ะ แวอาลี
เมื่อหญิงมีการตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา มีการเปลี่ยนทางอารมณ์และร่างกายมีความต้องการสารอาหารเพิ่มมากขึ้น เพื่อที่จะนำไปใช้ประโยชน์กับทารกที่อยู่ในครรภ์ปัจจุบันจะพบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง ถือว่าเป็นปัญหาที่รุนแรง เพราะอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เอง และทารกในครรภ์ด้วย ภาวะเสี่ยงของหญิงที่ตั้งครรภ์ ได้แก่ ภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซีด มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมักมีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม มีอัตราการตายขณะคลอดและหลังคลอดสูง มารดาตกเลือดหลังคลอด มีโอกาสติดเชื้อในระยะหลังคลอดสูง และมีโอกาสติดเชื้อในกระแสเลือดสูง เช่นกัน สาเหตุสำคัญของภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ ได้แก่ การขาดสารอาหาร จำพวกธาตุเหล็ก และ กรดโฟลิค จากสถิติ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ พบว่า ในปีงบประมาณ 2560 2561 และ 2562 มีภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์รายใหม่ และ หญิงตั้งครรภ์ในระยะใกล้คลอด ร้อยละ 12.4, 3.95 และ4.71 ตามลำดับ และพบว่า และพบมารดาหลังคลอดมีภาวะตกเลือดหลังคลอดในปีงบประมาณ 25602561 และ 2562ร้อยละ 10.34, 6.19 และ4.80 ตามลำดับ และในปี 2563 ยังมีหญิงตั้งครรภ์บางส่วนที่ยังไม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และยังไม่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ ปัญหาเหล่านี้ อาจจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็ก สติปัญญาในการเรียนรู้ และยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของครอบครัว จากปัญหาดังกล่าวนี้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการการส่งเสริมสุขภาพวันเจริญพันธุ์ เตรียมพร้อมอย่างไรให้พร้อมก่อนตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 25ุ64
-
1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)ขนาดปัญหา 87.37 เป้าหมาย 90.00
-
2. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้นขนาดปัญหา 81.91 เป้าหมาย 90.00
-
3. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้นขนาดปัญหา 90.32 เป้าหมาย 95.00
-
4. เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอดตัวชี้วัด : ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด ไม่เกินร้อยละ 10ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 10.00
- 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สุขภาพวัยเจริญพันธุ์ การเปลี่ยนเปลี่ยนด้านร่างกาย จิตใจ สังคม ขณะตั้งครรภ์ ภาวะเสี่ยงต่างๆขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอดรายละเอียด
กิจกรรมอบรมให้ความรู้สุขภาพวัยเจริญพันธุ์ การเปลี่ยนเปลี่ยนด้านร่างกาย จิตใจ สังคม ขณะตั้งครรภ์ ภาวะเสี่ยงต่างๆขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 75 คน * 25 บาท2 มื้อ = 3,750 บาท 2.ค่าอาหาร จำนวน 75 คน *60 บาท * 1 มื้อ = 4,500 บาท 3.ค่าวิทยากร 6 ชม. * 600 บาท 1 วัน = 3,600 บาท 4.ค่าไวนิลโครงการขนาด 1.5 * 2 เมตร * 250 บาท * 1 ผืน =750 บาท รวมทั้งสิ้น 12,600 บาท
งบประมาณ 12,600.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ
รวมงบประมาณโครงการ 12,600.00 บาท
1.ลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด
2.ลดภาวะการตกเลือดของมารดาหลังคลอด
3.หญิงตั้งคครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
4.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์
5.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแล 3 ครั้งตามเกณฑ์
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต รหัส กปท. L2479
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต รหัส กปท. L2479
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................