กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา รหัส กปท. L5166

อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการให้ความรู้การบริหารจัดการขยะอย่างบูรณาการโดยใช้เกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงโดยการปลูกพืชผักสวนครัวในล้อรถยนต์
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านต้นส้าน
3.
หลักการและเหตุผล

พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กไทยในปัจจุบันส่งผลตอสุขภาพของเด็กเป็นอย่างยิ่งเนื่องจากสภาวะปัจจุบันอาหารที่เด็กรับประทานในแต่ละวันไม่ว่าจะเป็นอาหารประเภทขนมขบเคี้ยวน้ำอัดลมอาหารประเภทเนื้อสัตว์ล้วนมีสารปนเปื้อนหรือสารปรุงแต่งรสอาหารและที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งซึ่งเป็นอาหารที่จำเป็นต่อพัฒนาการเด็กคืออาหารประเภทผักต่างๆที่หาซื้อจากท้องตลาดล้วนปนเปื้อนด้วยสารเคมีประเภทยาฆ่าแมลงบ้างสารเร่งการเจริญเติบโตบ้างซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทั้งสิ้น โรงเรียนเป็นหน่วยงานหลักที่มีหน้าที่พัฒนาเด็กอย่างรอบด้านเพื่อให้เด็กได้เจริญเติบโตแข็งแรงสมบูรณ์ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและปลอดภัยแต่โรงเรียนดูแลนักเรียนได้เฉพาะที่โรงเรียนเท่านั้นและเพื่อให้การดูแลสุขภาพนักเรียนประสบผลสำเร็จกับตัวนักเรียนเอง ผู้ปกครองเองมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งเพราะทุกฝ่ายต้องประสานความร่วมมือกันจึงจะประสบผลสำเร็จได้ โรงเรียนบ้านต้นส้านตำบลคลองหลาอำเภอคลองหอยโข่งจังหวัดสงขลาตระหนักและเห็นคุณค่าของสุขภาพนักเรียนจึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับการทำแปลงผักโดยใช้ยางล้อรถยนต์การปลูกพืชผักสวนครัวและการเลือกรับประทานผักที่ปลอดสารเคมีโดยใช้หลักการเกษตรอินทรีย์ที่บูรณาการกับการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนซึ่งโรงเรียนได้มีโครงการโรงเรียนปลอดขยะโดยการคัดแยกขยะและจะใช้ขยะแห้งที่ย่อยสลายได้ทำปุ๋ยหมักและใช้ปุ๋ยหมักที่ได้นำมาปลูกผักในล้อยางรถยนต์และในแปลงผักส่วนขยะแห้งที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ก็นำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ด้วยการประดิษฐ์เป็นสิ่งของต่างๆตามสภาพของขยะแต่ละชนิดนอกจากนั้นยังใช้ขยะเปียกที่ได้จากโรงอาหารมาทำน้ำหมักชีวภาพแล้วนำน้ำหมักชีวภาพที่ได้มารดผักที่ปลูกแทนการใช้ปุ๋ยเคมีขึ้นเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องและมีประโยชน์ต่อนักเรียนและยังอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากขยะและผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากพืชผักในท้องถิ่น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อให้นักเรียนสามารถคัดแยกขยะและนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองสามารถทำแปลงปลูกพืชสวนครัวโดยใช้ยางรถยนต์ได้
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้วิธีการปลูกพืชผักสวนครัวที่ปลอดสารเคมีและตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีในพืชผักที่รับประทานโดยใช้การปลูกผักอินทรีย์ในชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. 4.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักเลือกผักที่ปลอดสารเคมีไว้รับประทาน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 5. 5.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะเปียกในครัวเรือนและนำไปใช้ในการปลูกพืชผักได้
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 6. 6.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองรู้จักทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษใบไม้ในครัวเรือนและนำไปใช้ในการปลูกพืชผักได้
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่1 กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัวที่ปลอดสารเคมี กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการทำปุยหมักกิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการทำน้ำหม
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่1  กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัวที่ปลอดสารเคมี
    กิจกรรมที่ 2  กิจกรรมการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน
    ชั้นประถมศึกษาปีที่  1,2  (จำนวนนักเรียน  34  คน  ผู้ปกครอง  34  คน )  รวม 68  คน -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  1  มื้อ  มื้อละ50บาท/คน  ( 68 x 50 ) เป็นเงิน 3,400 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท/คน  68 x(25x2)
    เป็นเงิน 3,400 บาท -ค่าวิทยากร จำนวน  6  ชั่วโมง  ชั่วโมงละ 600 บาท ( 6 x 600)  เป็นเงิน  3,600 บาท รวมค่าใช้จ่าย  10,400  บาท ชั้นประถมศึกษาปีที่  3,4  (จำนวนนักเรียน  29  คน  ผู้ปกครอง  29  คน )  รวม  58  คน -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  1  มื้อ  มื้อละ50บาท/คน  ( 58 x 50 ) เป็นเงิน 2,900 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท/คน  58 x(25x2)
    เป็นเงิน 2,900 บาท -ค่าวิทยากร จำนวน  6  ชั่วโมง  ชั่วโมงละ 600 บาท ( 6 x 600)  เป็นเงิน  3,600 บาท รวมค่าใช้จ่าย  9,400  บาทรวมค่าใช้จ่ายการอบรมกิจกรรมที่ 1,2 เป็นเงิน  19,800  บาท ค่าวัสดุฝึก           - เมล็ดพันธ์ผักชนิดต่างๆ -  ผักกวางตุ้ง    ราคาห่อละ  20  บาท  จำนวน  20  ห่อ (20 x 20)  เป็นเงิน 400 บาท
    -  ผักคะน้า    ราคาห่อละ  20  บาท  จำนวน  20  ห่อ (20 x 20)  เป็นเงิน 400 บาท -  ผักกาด    ราคาห่อละ  20  บาท  จำนวน  20  ห่อ  (20 x 20)  เป็นเงิน 400 บาท -  มะเขือ      ราคาห่อละ  20  บาท  จำนวน  20  ห่อ (20 x 20)  เป็นเงิน 400 บาท -  พริก    ราคาห่อละ  20  บาท  จำนวน  20  ห่อ (20 x 20)  เป็นเงิน 400 บาท -  ผักบุ้ง  ราคาถุงละ  50  บาท  จำนวน  6  ถุง (6  x  50 )เป็นเงิน  300  บาท - ขี้วัว  ราคาถุงละ  50  บาท จำนวน 30  ถุง ( 30 x 50 ) เป็นเงิน  1,500  บาท
    - บัวรดน้ำ  ราคาใบละ  85  บาท  จำนวน  6  ใบ ( 6 x 85) เป็นเงิน 510 บาท - สายยางรดน้ำต้นไม้  ราคากิโลกรัมละ  70  บาท  จำนวน  20  กิโลกรัม (20x70)   เป็นเงิน  1,400 บาท รวมค่าวัสดุกิจกรรมที่1,2  เป็นเงิน  5,710  บาท, รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมที่  1,2    ทั้งสิ้น    (19,800  +  5,710 )  =  25,510 บาท กิจกรรมที่ 3    กิจกรรมการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมที่ 4    กิจกรรมการทำปุยหมักจากเศษขยะย่อยสลาย
    กิจกรรมที่ 5    กิจกรรมการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษผลไม้รสเปรี้ยว ชั้นประถมศึกษาปีที่  1,2  (จำนวนนักเรียน  34  คน  ผู้ปกครอง  34  คน )  รวม 68  คน -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  1  มื้อ  มื้อละ50บาท/คน  ( 68 x 50 ) เป็นเงิน 3,400 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท/คน  68 x(25x2)
    เป็นเงิน 3,400 บาท -ค่าวิทยากร จำนวน  6  ชั่วโมง  ชั่วโมงละ 600 บาท ( 6 x 600)  เป็นเงิน  3,600 บาท รวมค่าใช้จ่าย  10,400  บาท ชั้นประถมศึกษาปีที่  3,4  (จำนวนนักเรียน  29  คน  ผู้ปกครอง  29  คน )  รวม  58  คน -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  1  มื้อ  มื้อละ50บาท/คน  ( 58 x 50 ) เป็นเงิน 2,900 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท/คน  58 x(25x2)
    เป็นเงิน 2,900 บาท -ค่าวิทยากร จำนวน  6  ชั่วโมง  ชั่วโมงละ 600 บาท ( 6 x 600)  เป็นเงิน  3,600 บาท รวมค่าใช้จ่าย  9,400  บาท รวมค่าใช้จ่ายการอบรมกิจกรรมที่  3,4,5  เป็นเงิน  19,800  บาท ค่าวัสดุฝึก -ขี้วัว ราคากระสอบละ50บาท  จำนวน  40  กระสอบ  (40x50)  เป็นเงิน  2,000 บาท - ปุ๋ยยูเรีย  ราคากระสอบละ350  บาท  จำนวน  1 กระสอบเป็นเงิน  350 บาท - หัวเชื้อ  EM  ราคาชวดละ  30  บาท  จำนวน  3  ขวด  (3x30)  เป็นเงิน  90  บาท - กากน้ำตาลจำนวน 50  กิโลกรัม  กิโลกรัมละ 30  บาท  (50 x30)เป็นเงิน  1,500บาท - ถังสำหรับทำน้ำหมักจำนวน 10  ถัง  ถังละ 250 บาท  (10x250) เป็นเงิน  2,500บาท รวมค่าวัสดุกิจกรรมที่3,4,5      เป็นเงิน  6,440  บาท, รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมที่  3,4,5    ทั้งสิ้น  (19,800 +6,440)  =  26,240  บาท กิจกรรมที่ 6    กิจกรรมการทำน้ำยาล้างจานจากน้ำหมักชีวภาพจากเศษผลไม้รสเปรี้ยว กิจกรรมที่  7    กิจกรรมการทำสบู่สมุนไพรจากพืชผักและผลไม้ในท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่  1,2  (จำนวนนักเรียน  34  คน  ผู้ปกครอง  34  คน )  รวม 68  คน -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  1  มื้อ  มื้อละ50บาท/คน  ( 68 x 50 ) เป็นเงิน 3,400 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท/คน  68 x(25x2)
    เป็นเงิน 3,400 บาท -ค่าวิทยากร จำนวน  6  ชั่วโมง  ชั่วโมงละ 600 บาท ( 6 x 600)  เป็นเงิน  3,600 บาท รวมค่าใช้จ่าย  10,400  บาท ชั้นประถมศึกษาปีที่  3,4  (จำนวนนักเรียน  29  คน  ผู้ปกครอง  29  คน )  รวม  58  คน -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  1  มื้อ  มื้อละ50บาท/คน  ( 58 x 50 ) เป็นเงิน 2,900 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท/คน  58 x(25x2)
    เป็นเงิน 2,900 บาท -ค่าวิทยากร จำนวน  6  ชั่วโมง  ชั่วโมงละ 600 บาท ( 6 x 600)  เป็นเงิน  3,600 บาท รวมค่าใช้จ่าย  9,400  บาท รวมค่าใช้จ่ายการอบรมกิจกรรมที่  5,6  เป็นเงิน  19,800  บาท ค่าวัสดุ       - อุปกรณ์ทำน้ำยาล้างจาน  4  ชุด  ชุดละ 120บาท ( 4x120) เป็นเงิน  480  บาท       - กลีเซอร์ลีน ราคากิโลกรัมละ 150 บาท จำนวน  4  กิโลกรัม (4X150)  เป็นเงิน 600บาท       - ขมิ้นชัน  ราคาถุงละ  30  บาท จำนวน  1  ถุง  (1x 30)  เป็นเงิน  30  บาท       - น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นราคาขวดละ 250 บาทจำนวน 1 ขวด เป็นเงิน 250 บาท       - น้ำผึ้งรวงราคาขวดละ 500 บาท จำนวน 1 ขวดเป็นเงิน    500 บาท       - พิมสบู่  ราคาชิ้นละ  200 บาท จำนวน  5  ชิ้น เป็นเงิน  1,000 บาท     - ถังลูกในสำหรับกวนสบู่  ราคาใบละ  250  บาท จำนวน  2 ใบ  เป็นเงิน  500 บาท     รวมค่าวัสดุกิจกรรมที่  6,7      เป็นเงิน  3,360 บาท, รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมที่  6,7      ทั้งสิ้น  (19,800 +3,360)  =  23,160  บาท ค่าใช้จ่ายการอบรมและค่าวัสดุกิจกรรมที่  1- 7  รวม ( 25,510 + 26,240  + 23,160 ) เป็นเงินทั้งหมด  74,910  บาท   - ค่าทำป้ายการอบรม 1 ป้าย  เป็นเงิน  600 บาท รวมงบประมาณในการทำโครงการทั้งหมด    75,510  บาท

    งบประมาณ 75,510.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านต้นส้าน หมู่ที่6ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 75,510.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.นักเรียนและผู้ปกครองสามารถคัดแยกขยะและนำขยะกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ 2. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถปลูกผักปลอดสารเคมีในล้อยางรถยนต์ได้ 3.นักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึงพิษภัยของผักที่มีสารเคมีและสามารถปลูกพืชผักสวนครัวไว้รับประทานเองได้ 4.นักเรียนและผู้ปกครองสามารถบริหารจัดการขยะในครัวเรือนให้เกิดประโยชน์โดยบูรณาการกับการทำเกษตรอินทรีย์ได้

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา รหัส กปท. L5166

อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา รหัส กปท. L5166

อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 75,510.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................