กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ รหัส กปท. L8405

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาภาวะโภชนาการ สุขภาพและสิ่งแวดล้อม
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนวัดพรุเตาะ
3.
หลักการและเหตุผล

กรมอนามัยได้ดำเนินงานโครงการพัฒนาภาวะโภชนาการ สุขภาพและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านสุขภาพควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านการศึกษาโดยการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนให้เป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์กลางของการพัฒนาสุขภาพ รวมทั้งพัฒนาชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 และเพื่อให้โรงเรียนมีแนวทางการดำเนินงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน กรมอนามัยได้จัดทำเกณฑ์มาตรฐานการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพให้ครอบคลุมทั้ง 10 องค์ประกอบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพขึ้นใน พ.ศ. 2556 โดยแบ่งระดับการรับรองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเป็น 3 ระดับ คือ ระดับทอง เงิน และทองแดง
การพัฒนานักเรียนตามแนวทางของโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองและชุมชนเพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพชุมซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ร่วมดำเนินการกับฝ่ายการศึกษามาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2541 ก่อให้เกิดผลเป็นที่น่าพอใจ โดยมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการและสามารถพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพจนผ่านการประเมินรับรองเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้นทุกปีติดต่อกันเป็นลำดับ สำหรับเกณฑ์ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่ใช้ในช่วงที่ผ่านมา ประกอบด้วย ตัวชี้วัดภายใต้องค์ประกอบ 10 ประการ โดยเน้นกระบวนการของกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อเป็นทิศทางแก่โรงเรียน แต่ยังมิได้ให้ความสำคัญกับการวัดผลลัพธ์ทางสุขภาพมากนัก ดังนั้นเมื่อการพัฒนางานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพดำเนินมาจนถึงโรงเรียนบรรลุเกณฑ์ในปี 2562 กรมอนามัยจึงเห็นสมควรที่จะยกระดับเกณฑ์ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพขึ้นสู่อีกระดับหนึ่ง โดยจัดทำเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ให้มีตัวชี้วัดที่เน้นการวัดผลทางสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน และผลการดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการขึ้นเพื่อพัฒนาการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้โรงเรียนวัดพรุเตาะไปสู่เป้าหมายโณงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนด้านสุขภาพอันจะนำไปสู่กันพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา
โรงเรียนวัดพรุเตาะจึงจัดทำโครงการพัฒนาภาวะโภชนาการ สุขภาพและสิ่งแวดล้อมขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม 2 ส่วน คือ การดำเนินงานด้านความปลอดภัยภายในสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพของการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และกิจกรรมนักเรียนแกนนำเด็กไทยทำได้และ อย.น้อย เพื่อขับเคลื่อนการทำงานผ่านแกนนำนักเรียนผ่านการร่วมมือจากองค์กร หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อสม. และเครือข่ายการดำเนินงานของนักเรียน อย.น้อย
ทั้งนี้โครงการพัฒนาภาวะโภชนาการ สุขภาพและสิ่งแวดล้อม เน้นการสร้างเครือข่ายชมรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน (อย.น้อย) เพื่อการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนในการรับรู้สิทธิผู้บริโภคและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง เหมาะสม และมีการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารทั้งในโรงเรียนและชุมชน โดยเน้นรูปแบบการดำเนินกิจกรรมในลักษณะภาคีเครือข่ายในระดับการศึกษา

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภครวมทั้งตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภครวมทั้งตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียนเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 90.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี
    ตัวชี้วัด : จำนวนสถิติการขาดเรียนของนักเรียนลดลง
    ขนาดปัญหา 25.00 เป้าหมาย 10.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ประสบการณ์ และการมีส่วนร่วมของสมาชิกชมรม อย.น้อย ในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรม อย.น้อย สามารถให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนฝ่านกิจกรรมหน้าเสาธงหรือการใช้เสียงตามสาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
    ขนาดปัญหา 7.00 เป้าหมาย 28.00
  • 4. เพื่อส่งเสริมประสบการณ์ของสมาชิกชมรม อย.น้อย ในการตรวจสอบสารเจือปนในอาหาร
    ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรม อย.น้อย สามารถสุ่มตรวจวิเคราะห์สารเจือปนในอาหารอย่างง่ายในห้องครัวและโรงอาหารโรงเรียนได้ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    ขนาดปัญหา 2.00 เป้าหมาย 7.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมปรับปรุงห้องปฏิบัติการและอุปกรณ์ด้านสุขภาพ
    รายละเอียด

    ปรับปรุงห้องปฏิบัติการ ห้องสุขา ห้องครัวและอุปกรณ์ด้านสุขภาพให้พร้อมใช้งานตลอดเวลา โดยใช้งบประมาณ ดังนี้
    1. ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ (ตารางเมตรละ 500 บาท) ราคาป้ายละ 200 บาท จำนวน 30 ป้าย = 6,000 บาท
    2. แก้วน้ำสแตนเลสสำหรับนักเรียน จำนวน 6 โหลๆ ละ 290 บาท = 1,740 บาท
    3. อ่างล้างจานหลุมเดียว จำนวน 4 ชุดๆ ละ 900 บาท = 3,600 บาท
    4. กระติกน้ำ ขนาด 25 ลิตร จำนวน 1 ใบๆ ละ 399 บาท = 399 บาท
    5. ถังน้ำ จำนวน 1 โหลๆ ละ 300 บาท = 300 บาท
    6. ถังมีฝาปิด จำนวน 4 ใบๆ ละ 170 บาท = 680 บาท
    7. ไม้กวาดก้านมะพร้าว จำนวน 2 โหลๆ ละ 360 บาท = 720 บาท

    รวมเป็นเงิน 13,439 บาท

    งบประมาณ 13,439.00 บาท
  • 2. กิจกรรม อย.น้อย
    รายละเอียด

    โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้
    1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท = 2,500 บาท
    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท = 2,500 บาท
    3. ค่าตอบแทนวิทยากรจากสาธารณสุขให้ความรู้เรื่องสถานการณ์ความปลอดภัยทางด้านอาหารของคนไทยในปัจจุบัน
    จำนวน 1 คน จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท = 600 บาท
    4. ค่าตอบแทนวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ ให้ความรู้เรื่องการอ่านฉลากยา เครื่องดื่ม อาหารและสาธิตการทดสอบอาหารด้วยสารทดสอบตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
    จำนวน 3 คน จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท = 1,800 บาท
    5. ชุดทดสอบสารบอแรกซ์ (ผงกรอบ) จำนวน 3 ชุดๆ ละ 200 บาท = 600 บาท
    6. ชุดทดสอบซาลิซิลิค (สารกันรา) จำนวน 3 ชุดๆ ละ 700 บาท = 2,100 บาท
    7. ชุดทดสอบฟอร์มาลีน (น้ำยาดองศพ) จำนวน 1 ชุดๆ ละ 1,100 บาท = 1,100 บาท
    8. ชุดทดสอบโซเดียมไฮโตรซัลเฟต (สารฟอกขาว) จำนวน 4 ชุดๆ ละ 200 บาท = 800 บาท
    9. ชุดทดสอบโคลอฟอร์มในน้ำและน้ำแข็ง จำนวน 1 ชุดๆ ละ 1,200 บาท = 1,200 บาท
    10. ชุดทดสอบหายาฆ่าแมลงในผักและผลไม้ จำนวน 1 ชุดๆ ละ 800 บาท = 800 บาท
    11. ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ จำนวน 1 ชุดๆ ละ 850 บาท = 850 บาท
    12. ชุดทดสอบไอโอดีนในเกลือ จำนวน 4 ชุดๆ ละ 200 บาท = 800 บาท
    13. ป้ายไวนิล (ขนาด 1.5 เมตร*3 เมตร) ป้ายละ 675 บาท จำนวน 2 ป้าย = 1,350 บาท
    14. แผ่นพับ/ใบความรู้ประชาสัมพันธ์ เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 4 เดือน จำนวน 80 ใบๆ ละ 15 บาท = 4,800 บาท

    รวมเป็นเงิน 21,800 บาท

    งบประมาณ 21,800.00 บาท
  • 3. สรุปผลการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    รายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้
    1. ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุดๆ ละ 8 บาท = 800 บาท

    งบประมาณ 800.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 สิงหาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนวัดพรุเตาะ ม.5 ต.ทุ่งใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 36,039.00 บาท

หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายได้ทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. นักเรียนและแกนนำ อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทัศนคตีที่ดีต่อการบริโภค และตระหนักถึงเรื่องความปลอดภัยในอาหารมากขึ้น
  2. นักเรียนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความปลอดภัยในอาหารทั้งในโรงเรียนและชุมชน
  3. สมาชิกชมรม อย.น้อย สามารถตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารปนเปื้อนด้วยวิธีการอย่างง่ายได้
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ รหัส กปท. L8405

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ รหัส กปท. L8405

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 36,039.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................