กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง รหัส กปท. L4131

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ปี 2564
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
3.
หลักการและเหตุผล

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา เป็นหนึ่งในเมืองต้นแบบตามโครงการเมืองต้นแบบเศรษฐกิจ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” บนแนวนโยบายที่เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัดชายแดนใต้และเศรษฐกิจของประเทศอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อให้เกิดผลต่อเนื่องไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนในพื้นที่ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และนายอำเภอเบตง ได้มีนโยบายสำคัญด้านต่างๆ เพื่อรองรับนโยบายเมืองต้นแบบด้านการท่องเที่ยว และบริการภายใต้การพัฒนาแบบพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนตามยุทธศาสตร์เมืองสามเหลี่ยมเศรษฐกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ "มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน" ส่วนหนึ่ง ได้แก่ ความปลอดภัย อาหารสะอาดปลอดภัยราคาเป็นธรรม ที่พักถูกสุขลักษณะ เป็นต้น ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่สวยงามแห่งหนึ่งในภาคใต้ การท่องเที่ยวในตำบลอัยเยอร์เวงมีแนวโน้มที่จะเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต มีประชาชนหลั่งไหลเข้ามาเป็นจำนวนมากนอกจากประชาชนในพื้นที่แล้วยังมีนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามา ซึ่งควรได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และไม่เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มาจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคบิด เป็นต้น ได้พักในที่พักที่สะอาด มีสภาพแวดล้อมที่ดี และปลอดภัย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของตำบลอัยเยอร์เวงไปในทางที่ดีอีกด้วย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้จัดโครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัยมาตั้งแต่ปี 2560 - 2563 มีร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารเข้าร่วมโครงการสะสม จำนวนทั้งสิ้น 73 ร้าน/แผงลอย โดยได้จัดกิจกรรมอบรมผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร และลงพื้นที่ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารตามมาตรฐานร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (CleanFoodGoodTaste: CFGT)ของกรมอนามัย และมอบ/ต่ออายุป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT) แก่ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านมาตรฐาน ในปี 2563 มีร้านที่ได้รับการตรวจประเมินและผ่านเกณฑ์จำนวนทั้งสิ้น 43 ร้าน/แผงลอย ทั้งนี้พบว่า ในแต่ละปีมีร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารมีการปรับปรุงและพัฒนาดีขึ้น แต่ยังต้องได้รับการติดตามประเมินผลทุกปีเพื่อพัฒนาต่อไปให้ดียิ่งขึ้นในส่วนของที่พักในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง มีโฮมสเตย์/รีสอร์ท/ที่พัก จำนวน 37 แห่ง ประกอบด้วยห้องพักจำนวน 1 – 32 ห้องการมีสภาพแวดล้อมที่ดี มีความปลอดภัย ความสะอาดของที่พัก ห้องน้ำ รวมถึงอาหารที่ให้บริการแก่ผู้เข้าพักก็มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน ควรได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาที่ดีขึ้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักในเรื่องความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น โดยให้ความสำคัญกับร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารและที่พักในพื้นที่เพื่อให้มีความสะอาด ความปลอดภัยต่อผู้รับบริการทั้งประชาชนในพื้นที่และผู้มาเยือนจากต่างพื้นที่

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่ออบรมให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารที่ได้รับการตรวจประเมินผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 90.00
  • 3. เพื่ออบรมให้ความรู้การจัดที่พักให้ได้มาตรฐานแก่ผู้ประกอบการโฮมเสตย์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมที่มีความรู้ด้านการจัดที่พักให้ได้มาตรฐาน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านการจัดที่พักให้ได้มาตรฐานแก่ผู้ประกอบการโฮมสเตย์
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารกลางวัน 45 คน X 50 บาท เป็นเงิน  2,250 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 45 คน X 25 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน  2,250 บาท
    • ค่าสมนาคุณวิทยากร 600 บาท X 6 ชั่วโมง เป็นเงิน  3,600 บาท
    • ค่าเดินทางวิทยากร    เป็นเงิน  1,000 บาท
    • ค่าเช่าที่พักวิทยากร    เป็นเงิน  1200 บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม 37 คน × 35 บาท เป็นเงิน 1,295 บาท รวม  11,595 บาท
    งบประมาณ 11,595.00 บาท
  • 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารกลางวัน 65 คน X 50 บาท  เป็นเงิน  3,250 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 65 คน X 25 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน  3,250 บาท
    • ค่าสมนาคุณวิทยากร 600 บาท X 6 ชั่วโมงเป็นเงิน  3,600 บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม 60 คน × 35 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
    • ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 X 3 เมตร เป็นเงิน 750 บาท รวม  12,950 บาท
    งบประมาณ 12,950.00 บาท
  • 3. กิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารตามเกณฑ์อาหารสะอาดรสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste)
    รายละเอียด
    • ค่าชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (SI-2) จำนวน 15 กล่อง X 1,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจประเมิน เป็นเงิน  500 บาท
    • ค่าสื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ 60 ร้าน X 100 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
      รวม  21,500 บาท
    งบประมาณ 21,500.00 บาท
  • 4. มอบและต่ออายุป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT) แก่ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านมาตรฐาน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

พื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 46,045.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1) ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจด้านการสุขาภิบาลอาหาร สามารถประกอบและจำหน่ายอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 2) ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/ร้านจำหน่ายอาหารสด มีการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐาน และได้รับป้ายรับรองความปลอดภัยด้านอาหาร
3) ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยปราศจากสารเคมีและสิ่งปนเปื้อน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง รหัส กปท. L4131

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง รหัส กปท. L4131

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 46,045.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................