กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย ปี2564
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อสม.รพ.สต.บ้ายอุเผะ
กลุ่มคน
1.นานิง ระสูมิง
2.สาลีนายามา
3.ยาฮารอ ลีลาตานา
4.สาลีหม๊ะ แลรูกา
5.มาสานายามา
3.
หลักการและเหตุผล

ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพเรื่องการอยู่ไฟและดูแลหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยให้ความสำคัญกับสุขภาพของสตรีเป็นอย่างยิ่งจนเห็นได้ว่าว่าภาวะตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงการคลอดร่างกายของแม่ที่ต้องโอบอุ้มลูกไว้ต้องรับภาระอย่างหนัก เจ็บปวดและเสียเลือดมากในเวลาคลอดบุตร หลังคลอดจึงมีความจำเป็นที่จะต้องพักฟื้นฟูและบำรุงร่างกายแม่อย่างเป็นระบบมีขั้นตอนและมีแนวปฏิบัติตัวและข้อห้ามไว้หลายประการเพื่อมุ่งหมายให้สุขภาพของแม่กลับคืนสู่ความสมบูรณ์จะได้มีพละกำลังในการเลี้ยงดูลูกให้เติบโตแข็งแรงหากไม่ดูแลหลังคลอดด้วยการอยู่ไฟจะทำให้สุขภาพไม่ดีในระยะยาวคือทำให้มีอาการหนาวสะท้านเมื่อถูกลมฝน ทำงานหนักไม่ได้มดลูกหย่อนมีการตกขาวร่างกายไม่แข็งแรงเจ็บป่วยได้ง่ายเพราะไม่ได้ขับของเสียที่เกิดจากการคลอดออกให้หมดจึงกลับมาทำอันตรายเราเมื่ออายุมากขึ้นที่ร่างกายเริ่มอ่อนล้าลงทำให้เป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สมควรเป็นก็เป็นเช่นมะเร็งเบาหวานเป็นต้นแม้จะไม่มีการยืนยันข้อมูลเหล่านี้แต่ก็ควรป้องกันดีกว่าจะแก้เมื่อมีปัญหาเพราะการแก้จะลำบากกว่าการป้องกันดังนั้นจึงต้องมีการดูแลหลังคลอด ประโยชน์ในระยะใกล้คือ เพื่อขับน้ำคาวปลาช่วยให้มดลูกเข้าอู่ท้องยุบหน้าท้องไม่หย่อนยานท้องไม่ลายเลือดลมเดินสะดวกมีน้ำนมให้ลูกกินอย่างเพียงพอไม่ปวดเมื่อยตามร่างกายผิวพรรณผ่องใส กระชับกล้ามเนื้อ ลดไขมันที่สะสมตอนตั้งท้องกล้ามเนื้อในระยะยาวจะช่วยให้สุขภาพดี ไม่มีอาการหนาวสะท้านเมื่อถูกลมฝนเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับการมีลูกคนต่อไปหรือให้ดูเหมือนคุณแม่ยังสาว ร่างกายแข็งแรงไม่เจ็บปวดเมื่อยหรือเจ็บออดแอดเมื่ออายุมากขึ้นซึ่งปัญหาที่พบในระยะหลังคลอดที่จำเป็นต้องแก้ไขให้คลี่คลายในช่วงต้น อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ เล็งเห็นความสำคัญและเห็นควรอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในเรื่องของการดูแลหลังคลอด จึงจัดทำโครงการการดูแลมารดาหลังคลอดให้สุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทยนี้ขึ้นมาเพื่อให้หญิงหลังคลอดมีสภาพร่างกายกลับคืนความสมบูรณ์และสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี มีผิวพรรณที่เปล่งปลั่งสดใส ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ อันเนื่องจากการคลอด ตลอดจนสามารถปฏิบัติตัวและบำรุงร่างกาย เพื่อให้สามารถให้น้ำนมแก่ลูกได้อย่างเพียงพอตลอดระยะเวลา 6 เดือน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 40.00
  • 2. ร้อยละ ของมารดาหลังคลอดได้รับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ของมารดาหลังคลอดได้รับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 32.00 เป้าหมาย 32.00
  • 3. เพื่อให้ความรู้และปรับทัศนคติมารดาหลังคลอดในการดูแลสุขภาพหลังคลอดด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 60.00
  • 4. เพื่อให้อวัยวะต่างๆและสุขภาพร่างกายและจิตให้กลับคืนสู่ภาวะปกติสมบูรณ์โดยเร็ว
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 40.00
  • 5. เพื่อให้ความรู้และปรับสภาพร่างกายมารดาหลังคลอดสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดี่ยวอย่างน้อย6เดือน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 70.00
  • 6. เพื่อเน้นคุณค่าและอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยด้านการดูแลหลังคลอด
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 30.00
  • 7. เพื่อเป็นการประยัด และเพิ่มสมรรถนะการพึ่งตนเองและลดการพึ่งพาทางด้านยาแผนปัจจุบัน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 15.00 เป้าหมาย 30.00
  • 8. เพื่อนำองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยไปเผยแพร่ และชุมชนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 50.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. กิจกรรมอบรมหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด
    รายละเอียด

    1 กิจกรรมอบรม ผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นเงิน 9,900 บาท 1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรมและผู้ดำเนินการจำนวน40คน2มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 1.2 ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าอบรม และผู้ดำเนินการ จำนวน40 คน มื้อๆละ 65 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท 1.3 ค่าวัสดุอบรม จำนวน 40 คนๆละ 75 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 1.4 ค่าวิทยากรจำนวน6ชั่วโมง ๆละ300บาท เป็นเงิน1,800 บาท
    1.5ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1 x 2 เมตรราคา500บาท 1.6 ค่าอุปกรณ์ ในการทำกิจกรรม

    งบประมาณ 9,900.00 บาท
  • 2. กิจกรรมติดตามมารดาหลังคลอดเพื่อมารับบริการการบริบาลดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอด
    รายละเอียด

    ติดตามมารดาหลังคลอดเพื่อมารับบริการการบริบาลดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดที่ รพ.สต.บ้านอุเผะ ดังนี้ 1.นวดประคบ 2.ทับหม้อเกลือ
    3.เข้ากระโจม
    4.อาบน้ำสมุนไพร
    5.สอนการนวดเต้านมแก้ปัญหาน้ำนมไหลน้อย

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 17 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ตำบลกรงปินัง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 9,900.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.หญิงหลังคลอดมีความรู้และทัศนคติในการดูแลสุขภาพหลังคลอดด้วยวิถีการแพทย์แผนไทยที่ดีขึ้น 2.หญิงหลังคลอดมีสภาพร่างกายทีดีและมีความพร้อมเพื่่อเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดี่ยวอย่างน้อย6เดือน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 9,900.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................