กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง

แกนนำสุขภาพตำบลกำแพง

นางภัทรพร เหมนะ
นางปราถนา เพชรสลับแกน
นางสาวอาอีฉ๊ะ อานัน
นายกวี สานิง
นางโต้ย ศิวลักษณ์

ตำบลกำแพง ทุกหมู่บ้าน (๑๒ หมู่บ้าน)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุรา

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี)ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

 

8.00
2 จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี(คน)

 

25.00
3 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับ(ครั้ง)

 

10.00
4 จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน(คน)

 

22.00
5 จำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (มาตรการ)

 

12.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

8.00 5.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)

25.00 10.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพิ่มขึ้น(คน)

22.00 120.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

มาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น(มาตรการ)

12.00 22.00
5 เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับ

จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับลดลงเหลือ(ครั้ง)

10.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 11/03/2021

กำหนดเสร็จ 11/02/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สร้างแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเด็กและเยาวชนในหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
สร้างแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเด็กและเยาวชนในหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดกิจกรรม

๑ อบรมแกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเด็กและเยาวชนในหมู่บ้าน หลักสูตร 1 วัน หมู่บ้านละ ๑๐ คน จำนวน ๑๒ หมู่บ้าน รวม ๑๒๐ คน

๒ แกนนำอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเด็กและเยาวชนในหมู่บ้าน มีการรายงานผลการดำเนินงานเดือนละ ๑ ครั้ง

งบประมาณ

๑.๑ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าอบรมและคณะทำงาน จำนวน ๑๓๐ คนๆละ 2 มื้อๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน 6,500 บาท

๑.๒ ค่าหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าอบรมและคณะทำงาน จำนวน ๑๓๐ คนๆละ 1 มื้อๆละ ๖๕ บาท เป็นเงิน 8,450 บาท

๑.๓ ค่าวิทยากร จำนวน 1 วันๆละ ๕ ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

๑.๔ ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป็นเงิน ๗๐๐ บาท

๑.๘ ค่ายานพาหนะสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๒๐ คนๆละ 1๐๐ บาท เป็นเงิน 12,๐๐๐ บาท

๑.๑๐ ค่าแบบฟอร์มรายงานผลกิจกรรมที่ดำเนินการรณงค์ในหมู่บ้าน/ชุมชน จำนวน 120 ชุดๆละ ๑๐ บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑ มีแกนนำเด็กและเยาวชนทุกหมูบ้าน(๑๒ หมู่บ้าน)

๒ มีกลุ่มเครือข่ายการดำเนินการเกี่ยวกับการรณรงค์ด้านเครื่องดื่มแอลกอฮอลอย่างน้อย ๑๒ กลุ่ม

๓ เด็กและเยาวชนที่ผ่านการอบรมมีความรู้ด้านการป้องโรคหรือผลกระทบที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอลเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๙๐

๔ เด็กและเยาวชนที่ผ่านการอบรมมีการดำเนินการแนะนำกลุ่มเด็กและเยาวชนเข้าร่วมกลุ่มเครือข่ายอย่างน้อยร้อยละ ๗๐

๕ จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ๑๒๐ คน ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
31850.00

กิจกรรมที่ 2 รณรงค์การงดดื่มเหล้าและการปฏิบัติตามกฎหมาย

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์การงดดื่มเหล้าและการปฏิบัติตามกฎหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดกิจกรรม

๑ จัดทำป้ายรณรงค์และแสดงสถิติ

๒ จัดเก็บข้อมูลสำหรับอุบัติเหตุบนท้องถนนที่มีสาเหตุจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

๓ จัดนิทรรศการในกิจกรรมเทศกาลวันเต่าโลก จำนวน ๑ ครั้ง

งบประมาณ

  • ป้ายรณรงค์และแสดงสถิติ (ขนาด ๓ X ๖) จำนวน ๑๒ ป้ายๆละ 2,700 บาท เป็นเงิน 32,400 บาท

  • จัดทำแบบฟอร์มสำหรับการจัดเก็บข้อมูลจำนวน 120 ชุดๆละ ๑๐ บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

  • ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดนิทรรศการ เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 เมษายน 2564 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑ มีป้ายรณรงค์ฯ ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน (๑๒ หมู่บ้าน)

๒ อุบัติเหตุที่มีสาเหตุมาจากการดื่มแอลกอฮอลลดลงร้อยละ ๕๐

๓ มีข้อมูลสถิติการเกิดอุบัตเหตุทุกหมู่บ้าน/ชุมชน แสดงให้ประชาชนทราบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
36600.00

กิจกรรมที่ 3 สร้างมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
สร้างมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดกิจกรรม

๑ ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายระดับหมู่บ้าน(เพื่อสร้างมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน และติดตามผลตามมาตรการที่กำหนด) จำนวน 2 ครั้ง/หมู่บ้าน(เครือข่าย)

๒ ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายระดับตำบล (เพื่อสร้างมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน และติดตามผลตามมาตรการที่กำหนด) จำนวน 2 ครั้ง

งบประมาณ

๑.๑ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับคณะกรรมการและที่ปรึกษา ระดับหมู่บ้าน จำนวน ๑๒ หมู่บ้านๆละ ๑๒ คนๆละ 2 ครั้งๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน 7,200 บาท

๒.๑ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับคณะกรรมการและที่ปรึกษา ระดับตำบล จำนวน ๒๕ คนๆละ 2 ครั้งๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน 1,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑ มีมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน ครอบคลุม ร้อยละ ๑๐๐ (๑๒ หมู่บ้าน)

๒ มีป้ายแสดงมาตรการหมู่บ้าน/ชุมชนทุกหมู่บ้าน

๓ มีการประชุมติดตามของคณะกรรมการเครือข่ายตามมาตรการอย่างต่อเนื่องและพัฒนาปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมกับชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8450.00

กิจกรรมที่ 4 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ชื่อกิจกรรม
รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดกิจกรรม

รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง งบประมาณ

ค่าจัดทำเอกสารการนำเสนอโครงการ จำนวน 2 ครั้งๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

คำจัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ จำนวน 4 เล่มๆละ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 10 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต (Output)

มีการนำเสนอโครงการเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

มีการจัดทำรูปเล่มรายงาน จำนวน 4 เล่ม

ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการต่อยอดในการพัฒนาโครงการสู่หมู่บ้านหรือชุมชนอื่นๆ

มีนวัตกรรมใหม่เกิดขึ้นและสามารถนำไปใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 78,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลง
- จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลง
- จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพิ่มขึ้น
- มาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนมีจำนวนเพิ่มขึ้น
- จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับลดลง


>