กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าม่วง รหัส กปท. L5189

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชน ปี 2564
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด
3.
หลักการและเหตุผล

ประเทศกำลังเผชิญอยู่กับความเจริญในด้านต่างๆทำให้ประชาชนเกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตในทุกด้าน เช่น การอุปโภค บริโภคสินค้า และวิกฤตที่เกิดขึ้นนี้ ทำให้การแข่งขันกันอย่างมากในเรื่องของการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์แก่ผู้บริโภค เพราะผู้ประกอบการจะใช้กลยุทธ์ต่างๆ เพื่อให้ได้ขายสินค้าเป็นจำนวนมากและมีต้นทุนต่ำปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภคในปัจจุบัน พบว่าผู้ประกอบการมีความรู้ไม่เพียงพอในการเลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมขาดข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ผู้ประกอบการมีแนวโน้มฝ่าฝืนหรือละเลยข้อกฎหมายและบางส่วนยังไม่มีความรู้ในเรื่องของข้อกฎหมายต่างๆและในส่วนอาหารปลอดภัย อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บโดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้วสิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือคุณภาพความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อนการบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัย ปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุก และสังคมในยุคโลกาภิวัตน์ ทำให้ผู้คนในสังคมต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อความอยู่รอด การใช้ชีวิตของผู้คนดำเนินไปอย่างเร่งรีบและให้ความสำคัญกับความสะดวกจนบางครั้งลืมมองถึงอันตรายที่อยู่รอบตัว การให้ความสำคัญกับความสะดวก ประหยัดเวลาจนกระทั่งละเลยความใส่ใจ เรื่องพิษภัยที่อยู่รอบตัว ที่เห็นได้ชัดเจนอย่างหนึ่งคือ กล่องโฟมบรรจุอาหารซึ่งเป็นสิ่งที่ตอบสนองชีวิตที่เร่งรีบได้อย่างลงตัว จนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่ขณะเดียวกันก็มีอันตรายที่แฝงมากับกล่องโฟมที่บรรจุอาหาร นอกจากโรคภัยไข้ เจ็บแล้ว ปัจจุบันจากการบริโภคอาหารและสินค้าต่างๆของมนุษย์ ก่อให้เกิดขยะขึ้นมากมาย โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์บรรจุอาหารที่ผลิตจากพลาสติก ย่อยสลายยากส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในอนาคต เกิดปัญหาขยะล้นชุมชน ปัญหามลพิษทางน้ำ อากาศ ทางทะเล และอื่นๆตามมา จึงส่งเสริมให้ลดการใช้พลาสติกประเภท single use เช่น หลอดดูด แก้วใส่เครื่องดื่ม ถุงหูหิ้ว ถุงพลาสติก เป็นต้น และส่งเสริมสนับสนุนใช้วัสดุ หรือภาชนะที่ทำจากธรรมชาติหรือผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร การพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการ สร้างความตะหนักถึงความสำคัญความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ และเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านขายของชำในหมู่บ้าน สามารถตรวจสอบและเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคหวัด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคหวัด
    ขนาดปัญหา 15.00 เป้าหมาย 10.00
  • 2. เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคอุจจาระร่วง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคอุจจาระร่วง
    ขนาดปัญหา 18.00 เป้าหมาย 10.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียน
    รายละเอียด

    กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียน
    -Pre-test ก่อนการให้ความรู้ - Post-test หลังการให้ความรู้ โดยมีค่าใช้จ่าย - ค่าวิทยากร 600 บ.x 6 ชม.=3600บาท - ค่าอาหารกลางวัน 60บ.x20คน= 1200 บาท - ค่าอาหารว่าง 25บ.x20คน x2มื้อ=1000 บาท - ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย= 600 บาท - ค่าแบบประเมินก่อนและหลังให้ความรู้/วัสดุ 60บ. X 20 คน = 1200 บาท - ค่าผ้ากันเปื้อนกับหมวกคลุมผม 200บาท X 20 คน = 4000 บาท

    งบประมาณ 11,600.00 บาท
  • 2. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน
    รายละเอียด

    กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน -Pre-test ก่อนการให้ความรู้ 2/- Post-test หลังการให้ความรู้ มีค่าใช้จ่ายในการอบรม ดังนี้ -ค่าวิทยากร 600 บาทx6 ชม.=3,600 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 60 บาทx 60 คน =3,600 บาท -ค่าอาหารว่าง25บาทx 60 คน x2มื้อ =3,000 บาท -ค่าแบบประเมินก่อนและหลังให้ความรู้/ค่าวัสดุ 60บาท X 60 คน = 3600 บาท -ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 600 บาท

    งบประมาณ 14,400.00 บาท
  • 3. กิจกรรมตรวจประเมินแผงจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียน ให้ผ่านตามมาตรฐานที่กำหนด
    รายละเอียด

    กิจกรรมตรวจประเมินแผงจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียน ให้ผ่านตามมาตรฐานที่กำหนด โดยมีค่าใช้จ่าย ดังนี้ - ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงเหมาจ่าย วันละ 200 บาท *5วัน เป็นเงิน 1,000 บาท - ค่าอาหารว่าง จำนวน 10 คน คนละ 25 บาท จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 1,250 บาท

    งบประมาณ 2,250.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2021 ถึง 17 กันยายน 2021

8.
สถานที่ดำเนินการ

ม.8บ้านหนองสาหร่าย

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 28,250.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

-ผู้ประกอบการแผงลอยในชุมชน และผู้ปรุงอาหารในโรงเรียนมีความรู้ในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร ได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหารมากขึ้น
-ผู้ประกอบการร้านขายของชำสามารถเลือกซื้ออาหาร ยา เครื่องสำอางผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับประชาชน สามารถลดปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ฝ่าฝืนกฎหมาย และเรื่องร้องเรียนด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าม่วง รหัส กปท. L5189

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าม่วง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าม่วง รหัส กปท. L5189

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 28,250.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................