กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเสริมสร้างสุขภาพ EVERY ONE EVERY DAY ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร

ชมรมแอโรบิคบ้านสถิตย์

นางชนกานต์ ไชยชนะ
นางสุภาพร เจริญสุข
นางเสาวลักษณ์ ยวงทอง
นางไลล่า หมัดสารา
นางอุไร เลิศศักดิ์วานิชย์

ณ.ลานแอโบิคชุมชนบ้านสถิตย์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

65.30
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

67.20
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

58.30
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

52.20
5 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

64.30
6 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

 

54.20
7 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

 

55.00
8 ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

 

44.50

ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆ ที่มีความทันสมัยสะดวกสบายมากขึ้นทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไปประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลงทำให้ร่างกายอ่อนแอและปัจจุบันนี้ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศจากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โดยระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างและไขมันอุตตันในเส้นเลือดผูป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุจากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าวลงได้
ดังนั้นทางชมรมแอโรบิคบ้านสถิตย์จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยวิธีแอโรบิคในชุมชนบ้านสถิตย์มาอย่างต่อเนื่องโดยเห็นว่าการเต้นแอโรบิคเป็นวิธีการออกกำลังกายวิธีหนึ่งเพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ที่สนใจการกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและตื่นตัวเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าวด้วย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

65.30 70.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

67.20 75.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

58.30 65.00
4 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

52.20 60.00
5 เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

54.20 60.00
6 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

64.30 72.00
7 เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

55.00 65.00
8 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

44.50 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/12/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อเขียนโครงการของบกองทุนฯ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อเขียนโครงการของบกองทุนฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงานเพื่อเขียนโครงการของบกองทุนฯ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2563 ถึง 1 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดโครงการเสริมสร้างสุขภาพ EVERY ONE EVERY DAY ประจำปี 2564

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไปในเขต หมู่ที่6 ต.สทิงหม้อ จำนวน 30 คน

งบประมาณ ค่าไวนิลในการประชาสัมพันธ์โครงการ เป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 พฤศจิกายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดการประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่  มีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกชมรมเรื่องเทคนิคการออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกชมรมเรื่องเทคนิคการออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกชมรมเรื่องเทคนิคการออกกำลังกาย พฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

งบประมาณ ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 7 ชั่วโมง เป็นเงิน 4200 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 30 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1500 บาท ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2563 ถึง 1 ธันวาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมโครการมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังอย่างถูกต้องและสามารถดูแลสุขภาพได้ตามหลัก 3 อ.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7200.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ส่งเสริมการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง

งบประมาณ ค่าผู้นำเต้นออกกำลังอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 10 เดือนๆละ 1500 บาท เป็นเงิน 15000 บาท ค่าน้ำดื่มจำนวน 100 แพ็คๆละ 40 บาทเป็นเงิน 4000 บาท แฟลซไดร์ฟบันทึกเพลง 1 อัน เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19500.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามประเมินผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

มีการคัดกรองสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดความดัน วัดรอบเอว ก่อนและหลังทำโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ได้ข้อมูลการคัดกรองสุขภาพก่อนและหลังทำโครงการ
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพที่ดีขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปโครงการส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร

ชื่อกิจกรรม
สรุปโครงการส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรุปโครงการส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร

งบประมาณ ค่าเข้าเล่มสรุปโครงการ 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 29 ตุลาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจในการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น และรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความสนใจและประโยชน์ในการออกกำลังกาย
4.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นมีความสามัคคีเป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพแก่ชุมชน


>