กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนด้วยบาสโลป

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง

ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหูแร่

1…นางสลิลทิพย์……นิลแก้ว………………………
2…นางผกาวรรณ…. มณี…………………………
3…นางอวยพร…..หนูทอง………………………
4…นางสุภัทร………รอดเซี่ยม……………………
5…นางจุฑา…………หนูสุด……………………………

-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ตำบลร่มเมืองอำเภอเมืองพัทลุงจังหวัดพัทลุง -ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่1-หมู่ที่ 4 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุงจังหวัดพัทลุง -สวนป่านาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุงจังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

10.01
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

54.77
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

62.33
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

80.00
5 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

67.59
6 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

 

66.66
7 ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

 

87.50

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

10.01 5.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

54.77 70.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

62.33 72.00
4 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

80.00 90.00
5 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

67.59 80.00
6 เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

66.66 80.00
7 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

87.50 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
อาสาสมัครสาธารณสุขในหมู่บ้าน 59

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายรูปแบบทางกาย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายรูปแบบทางกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการออกกำลังกายรูปแบบทางกาย
-  ความสำคัญของการออกกำลังกาย -  การเตรียมตัวก่อนออกกำลังกาย -  การอบอุ่นร่างกาย -  โภชนาการที่เหมาะสมที่ร่างกายต้องการก่อน-หลังออกกำลังกาย 1.2 การรับสมัครสมาชิกเข้าสู่กิจกรรมการเต้นบาสโลปตามความสมัครใจหลังเรียนรู้จากการให้ความรู้ -  รับทราบกติกาการเข้าร่วมกิจกรรม
-  กรอกแบบฟอร์มการเข้าร่วมกิจกรรม งบประมาณ -ค่าวิทยากร ชม.ละ 600 บาท X 5 ชม.จำนวน 2 รุ่น เป็นเงิน 6,000 บาท -ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบ Pre Test  /Post  Test  เป็นเงิน 390 บาท -ค่าเอกสารคู่มือกิจกรรมการออกกำลังกายรูปแบบทางกาย และ การเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุง จำนวน 50 บาท X 109 คน เป็นเงิน 5,450 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25บาท X 2 มื้อ X 109 คน เป็นเงิน5,450 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท X 109 คน เป็นเงิน5,450 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการออกกำลังกายรูปแบบทางกาย  ร้อยละ 85           2. ประชาชนที่มีสุขภาพจิตที่ดี เกิดเป็นกลุ่มสังคมแห่งความสุข           3. ประชาชนในพื้นที่มีภาวะเจ็บป่วยจากการปวดเมื่อยลดลงจากปีที่ผ่านมา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22740.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2การออกกำลังกายในหมู่บ้าน โดยรูปแบบการเต้นบาสโลป

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2การออกกำลังกายในหมู่บ้าน โดยรูปแบบการเต้นบาสโลป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 รณรงค์การออกกำลังกายในหมูที่ 1 - 4รูปแบบการเต้นบาสโลป      -  แจ้งประชาสัมพันธ์โดยใช้หอกระจายข่าวในหมู่บ้านพร้อมการประชาสัมพันธ์จากแกนนำด้านออกกำลังกาย      - ดำเนินการเต้นบาสโลปตามแผนปฏิบัติงานที่ศาลาเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน หมู่๑  เดือน เมษายน จำนวน 12 ครั้ง หมู่๒  เดือน พฤษภาคม  จำนวน 12 ครั้ง หมู่๓  เดือน มิถุนายน จำนวน 12 ครั้ง หมู่๔  เดือน  กรกฎาคม จำนวน 12 ครั้ง

-รวมพลคนรักสุขภาพการเต้นบาสโลป หมู่๑- หมู่ ๔ ที่สวนป่านาโอ่ งบประมาณ - ค่าป้ายไวนิล “บาสโลป เพื่อสุขภาพ เพื่อคนที่คุณรัก”ขนาด 1.2 x 2.4 ม. จำนวน 4 ป้ายๆละ 500 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการออกกำลังกายรูปแบบทางกาย  ร้อยละ 85           2. ประชาชนที่มีสุขภาพจิตที่ดี เกิดเป็นกลุ่มสังคมแห่งความสุข           3. ประชาชนในพื้นที่มีภาวะเจ็บป่วยจากการปวดเมื่อยลดลงจากปีที่ผ่านมา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,740.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการออกกำลังกายรูปแบบทางกายร้อยละ 85
2. ประชาชนที่มีสุขภาพจิตที่ดี เกิดเป็นกลุ่มสังคมแห่งความสุข
3. ประชาชนในพื้นที่มีภาวะเจ็บป่วยจากการปวดเมื่อยลดลงจากปีที่ผ่านมา


>