กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนด้วยบาสโลป
รหัสโครงการ 64-L3360-2-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหูแร่
วันที่อนุมัติ 10 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 29 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 24,740.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหูแร่(นางสลิลทิพย์ นิลแก้ว)
พี่เลี้ยงโครงการ นางสุนันท์ จันทร์กลับ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
10.01
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
54.77
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
62.33
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
80.00
5 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
67.59
6 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
66.66
7 ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
87.50

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไปตามกระแสโลกาภิวัฒน์จากสภาพสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคม อุตสาหกรรม เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสภาพแวดล้อม ทำให้หลายคนมองข้ามการออกกำลังกายหลายคนอ้างว่าไม่มีเวลา บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในชีวิตประจำวันไม่เป็นการออกกำลังกาย จึงเป็นเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลงและอาจประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง ความเครียด ภาวะปวดเมื่อยจากการทำงาน ฯลฯ และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาด้วยโรคเรื้อรังขาดรายได้ในการครองชีพซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้ในชุมชน       จากการเก็บข้อมูลในหมู่บ้านที่รับผิดชอบ ของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ปี 2562- 2563 มีประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป – 60 ปี จำนวน 568 คน ได้รับการออกกำลังกายตามรูปแบบ  จำนวน 120  คน  ร้อยละ 21.12 และ มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคปวดเมื่อยในวัยทำงานและวัยผู้สูงวัย จำนวน 121  คน ร้อยละ 21.30  จากการเก็บข้อมูลผู้รับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่       ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง จึงเล็งเห็นความสำคัญปัญหาในพื้นที่รับผิดชอบจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนด้วยบาสโลป ให้กับประชาชนที่มีอายุ15 ปีขึ้นไปในพื้นที่ เพื่อได้ออกกำลังกายตามรูปแบบทางกายเพียงพอ โดยการมีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ เพื่อลดปัญหาความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง ความเครียด ภาวะปวดเมื่อยจากการทำงาน ฯลฯ พร้อมสร้างเครือข่ายการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องในชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

10.01 5.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

54.77 70.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

62.33 72.00
4 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

80.00 90.00
5 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

67.59 80.00
6 เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

66.66 80.00
7 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

87.50 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 109 24,740.00 2 24,740.00
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 1กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายรูปแบบทางกาย 109 22,740.00 22,740.00
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 2การออกกำลังกายในหมู่บ้าน โดยรูปแบบการเต้นบาสโลป 0 2,000.00 2,000.00

จัดทำแผนและขออนุมัติจัดทำโครงการฯ และขอความร่วมมือในการดำเนินงานบุคลากรด้านสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    2. ประชุม ชี้แจง คณะกรรมการ/คณะทำงานในการจัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนด้วยบาสโลป
    3. เสนอขออนุมัติโครงการต่อประธานกองทุน ฯ     4. เตรียมข้อมูลประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คณะทำงานออกกำลังกาย เอกสาร และวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรมโครงการฯ
    5. ติดต่อประสานงานวิทยากร
    6. จัดการอบรมให้ความรู้การออกำลังกายรูปแบบทางกายแบบบาสโลป     7. ดำเนินกิจกรรมในการรณรงค์พฤติกรรมการออกกำลังกายในหมู่บ้าน     8. จัดกิจกรรมการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานขมรมออกกำลังกาย
    9. นิเทศติดตาม/ประเมินผล ปีละ ๒ ครั้ง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการออกกำลังกายรูปแบบทางกายร้อยละ 85 2. ประชาชนที่มีสุขภาพจิตที่ดี เกิดเป็นกลุ่มสังคมแห่งความสุข 3. ประชาชนในพื้นที่มีภาวะเจ็บป่วยจากการปวดเมื่อยลดลงจากปีที่ผ่านมา

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2564 00:00 น.