กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไผ่โทน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไผ่โทน

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านปางยาว

เมธาวรรธน์ คำปาแฝง

บ้านปางยาว หมู่ที่ 6

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้องค์ความรู้และสร้างความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกแก่หมู่บ้าน ชุมชน วัด องค์กรเอกชน
2.เพื่อให้อาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อ.ส.ม) ผู้นำชุมชนเป็นแกนนำในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
3.เพื่อป้องกัน/ควบคุม อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากรและไม่มีอันตราการป่วยตาย เกิดขึ้นในพื่นที่ชุมชน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ 1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.จัดการดำเนินการตามโครงการฯซึ่งมีกิจกรรมดังนี้ 3.1จัดประชุมประชาคมให้ความรู้ เพิ่มเติม/ฟื้นฟูองค์ความรู้ ตลอดจนแนาวทางการดำเนินการเฝ้าระวัง/ควบคุมและป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนและกำหนดระเบียบกติกาของหมู่บ้าน แก่กลุ่มตัวแทนประชาชน/ผู้นำชุมชน/ผู้นำองค์กร-หน่วยงาน ในชุมชน 3.2ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์กับชาวบ้านทางหอกระจายข่าวในหมู่บ้านทุกสัปดาห์ 3.3 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ในหมู่บ้าน วัด โรงเรียน ตลอดจนองค์กร/โรงงานเอกชน จำนวน 2 ครั้ง -ครั้งที่ 1 ช่วงระยะเวลา เดือน พฤษภาคม 2564 -ครั้งที่ 2 ช่วงระยะเวลา เดือน สิงหาคม 2564 3.4 ใส่ทรายอะเบทในภาชนะรองรับน้ำ 3 เดือนต่อครั้ง 3.5 สอบสวนและควบคุมโรค ในกรณีพบผู้ป่วยทันที่ภายใน 24 ชั่วโมง งบประมาณ 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กิจกรรมประชุม/ประชาคม จำนวน 60 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 2.ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กิจกรรมรณรงค์ วันที่ 1/ครั้ง จำนวน 60 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กิจกรรมรณรงค์ วันที่ 2/ครั้ง จำนวน 60 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 5.ค่าป้ายไวนิลโครงการในการรณรงค์ จำนวน 2 ป้าย เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2.กลุ่มผุ้นำชุมชน องค์กร/หน่วยงานในชุมชนให้ความใส่ใจอย่างจริงจังในการดูแล เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการเกิดไข้เลือดออกในชุมชน 3.ในชุมชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร และไม่มีการป่วยตายเกิดขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 6,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อย่างจริงจังและต่อเนื่อง
2.กลุ่มผุ้นำชุมชน องค์กร/หน่วยงานในชุมชนให้ความใส่ใจอย่างจริงจังในการดูแล เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการเกิดไข้เลือดออกในชุมชน
3.ในชุมชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร และไม่มีการป่วยตายเกิดขึ้น


>