กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนตำบลละหาร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร

กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลละหาร

ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลละหารอ.ยี่งอ จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชน เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะ ออกเลือดมาก

เด็กและเยาวชนได้รับการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายและสามารถลดภาวะเสี่ยง
      การติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก

0.00
2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ

เด็กและเยาวชนมีความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโดยเฉพาะโรค
    ติดเชื้อ

0.00
3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 31/03/2021

กำหนดเสร็จ 01/04/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนตำบลละหาร

ชื่อกิจกรรม
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนตำบลละหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลละหาร จำนวน 65,920 บาท (หกหมื่นห้าพันเก้าร้อยยี่สิบ-บาทถ้วน) รายละเอียด  ดังนี้ 1. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 2 x 1.5          เป็นเงิน 720 บาท 2. ค่าจัดซื้อผ้าขาวม้า              เป็นเงิน 6,000 บาท     (40 ผืน ๆ 150 บาท) 3. ค่าอาหาร                เป็นเงิน 10,000 บาท     (จำนวน 100 คน ๆ ละ 50 บาท  จำนวน 2 วัน) 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม          เป็นเงิน 10,000 บาท     (จำนวน 100 คน ๆ ละ 25 บาท  จำนวน 2 วัน ๆ ละ 2 มื้อ) 5. ค่าสมนาคุณวิทยากร                เป็นเงิน 7,200  บาท     (จำนวน 2 คน ๆ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท) 6. ค่าหัตถการ          เป็นเงิน 16,000 บาท 7. ค่าวัสดุต่าง ๆ                  เป็นเงิน 16,000 บาท     7.1 ค่ายาชา        เป็นเงิน 4,000 บาท     7.2 ค่าถุงมือ Sterile      เป็นเงิน 800 บาท     7.3 ค่าเข็ม Syring      เป็นเงิน  400 บาท     7.4 ค่าไหม          เป็นเงิน 6,000 บาท     7.5 ค่า Set Sterile        เป็นเงิน 1,000 บาท     7.6 ค่า Batadine 30 cc      เป็นเงิน 1,000 บาท     7.7 ค่า Elassitik          เป็นเงิน    800 บาท     7.8 ค่า Bactigras      เป็นเงิน    800 บาท     7.9 ค่า Gauze          เป็นเงิน    800 บาท     7.10 ค่าใบมีด          เป็นเงิน    400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
31 มีนาคม 2564 ถึง 1 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
65920.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 65,920.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

6.1 เด็กและเยาวชนได้รับการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายและสามารถลดภาวะเสี่ยง
การติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก
6.2 เด็กและเยาวชนมีความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโดยเฉพาะโรค
ติดเชื้อ
6.3 เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค


>