กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการใกล้บ้านใกล้ใจ ใส่ใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำพด

พื้นทีหมู่ที่ 3,4,6,7

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรงพยาบาลสุขภาพตำบลบ้านลำพด พบว่าโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ โดยพบว่าในปี 2561 – 2563 มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาบได้ดีตั้งแต่ปี 2561-2563 มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ตั้งแต่ปี 2561-2563 คิดเป็นร้อยละ 25.6428.09 และ 32.98 ตามลำดับ จะเห็นว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นแต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์กระทรวงที่ตั้งไว้ ร้อยละ 40 ส่วนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปี 2561 - 2563 คิดเป็นร้อยละ 23.2045.31และ 41.27ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์กระทรวงที่ตั้งไว้ ร้อยละ 50 เพื่อเป็นการป้องกันภาวะแทรกซ้อนและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น และส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าว ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรค ร้อยละ 80

144.00 120.00
2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี  ร้อยละ 40 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิต ร้อยละ 50

144.00 72.00
3 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 90

144.00 130.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 58
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 144
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 01/02/2021

กำหนดเสร็จ : 31/12/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม.

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประสานงานผู้เข้าประชุม (อสม.เพื่อชี้แจง แนวทางการดำเนินงาน)
  2. เตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ
  3. ประเมินความรู้และทักษะ ก่อน-หลังการฝึกอบรม มีงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามรายละเอียดดังนี้
  4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน  58  คน จำนวน 1 มื้อ ๆละ 25  บาท  เป็นเงิน 1,450  บาท
  5. ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน 58  คน  จำนวน 1 มื้อๆละ 50  บาท  เป็นเงิน  2,900 บาท
  6. ค่าวัสดุในการอบรมพร้อมเอกสารความรู้  จำนวน 58  ชุดๆละ 20 บาท  เป็นเงิน 1,160
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5510.00

กิจกรรมที่ 2 ห้องเรียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควบคุมไม่ได้

ชื่อกิจกรรม
ห้องเรียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควบคุมไม่ได้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

มีกิจกรรมย่อยดังนี้ 1.  มีการติดตามภาวะสุขภาพของ ผู้เข้าร่วมโครงการ 6 ครั้งๆละครึ่งวัน กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
144  คน (กลุ่มเสี่ยง) -  ประเมินความรู้ความเข้าใจต่อโรคที่เป็นอยู่ -  ความรุนแรงของโรค NCD -  ติดตามการได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี -  อาการ/ภาวะแทรกซ้อนจากโรค -  แนวทางการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมต่อโรค -  ตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า มีงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามรายละเอียดดังนี้ 1.  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 144 คน จำนวน 6  มื้อๆละ 25  บาท  เป็นเงิน
21,600  บาท 2.  ค่าวัสดุในการติดตามภาวะสุขภาพพร้อมเอกสารการให้ความรู้ + บันทึกการเข้าร่วม กิจกรรม+แบบสัมภาษณ์ความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 144  ชุดๆละ 50  บาท เป็นเงิน  7,200 บาท 3.  เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 2 เครื่องๆละ 2,500 บาท  เป็นเงิน 5,000  บาท 4.  แผ่นตรวจน้ำตาล จำนวน  6 กล่องๆละ 750  บาท  เป็นเงิน   4,500  บาท 5.  เข็มเจาะเลือด จำนวน  3 กล่องๆละ 750  บาท  เป็นเงิน 2,250  บาท 6.  เครื่องวัดความดันโลหิตจำนวน 2 เครื่องๆละ 3,800  บาท  เป็นเงิน 7,600  บาท 7.  ยางวงเส้นใหญ่จำนวน  48  ถุงๆละ 100  บาท  เป็นเงิน  4,800  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ร้อยละ 40  ผู้ป่วยเบาหวาควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
  2. ร้อยละ  50  ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
52950.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 58,460.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
2. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
3. ควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ


>