กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการใกล้บ้านใกล้ใจ ใส่ใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2564
รหัสโครงการ 1011/64
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำพด
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2564
งบประมาณ 58,460.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางซีตีฟาตีเม๊าะ ทองคำ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 24 มี.ค. 2564 30 ธ.ค. 2564 58,460.00
รวมงบประมาณ 58,460.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 58 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 144 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรงพยาบาลสุขภาพตำบลบ้านลำพด พบว่าโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ โดยพบว่าในปี 2561 – 2563 มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาบได้ดีตั้งแต่ปี 2561-2563 มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ตั้งแต่ปี 2561-2563 คิดเป็นร้อยละ 25.6428.09 และ 32.98 ตามลำดับ จะเห็นว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นแต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์กระทรวงที่ตั้งไว้ ร้อยละ 40 ส่วนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปี 2561 - 2563 คิดเป็นร้อยละ 23.2045.31และ 41.27ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์กระทรวงที่ตั้งไว้ ร้อยละ 50 เพื่อเป็นการป้องกันภาวะแทรกซ้อนและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น และส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าว ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรค

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรค ร้อยละ 80

144.00 120.00
2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี  ร้อยละ 40 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิต ร้อยละ 50

144.00 72.00
3 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 90

144.00 130.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 58,460.00 0 0.00
1 ก.พ. 64 - 31 ธ.ค. 64 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. 0 5,510.00 -
1 ก.พ. 64 - 31 ธ.ค. 64 ห้องเรียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควบคุมไม่ได้ 0 52,950.00 -
  1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม.
    2.ห้องเรียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควบคุมไม่ได้
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
  3. ควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.พ. 2564 00:00 น.