กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะขนุน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคุ้มครองผู้บริโภค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะขนุน

ชมรมคุ้มครองผู็บริโภค

1.นางกรรญาดวงประทุม
2.นายสมานศิริสกุลชัย
3นางวิภานิลศิริ
4. นางบุญเรืองสุวรรณราช
5. นายสมคิดเอี่ยมวัน

หมู่ 1 , 3 , 5 , 7 , 8 , 13 และ หมู่ 15ตำบลเกาะขนุนอำเภอพนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

 

74.00
2 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

 

22.96
3 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร

 

0.00
4 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

64.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อ เพิ่มขึ้น

74.00 86.00
2 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

0.00 0.00
3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

22.96 33.00
4 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

64.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ ผู้ประกอบการในชุมชน โรงเรียน และ อสม.

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ ผู้ประกอบการในชุมชน โรงเรียน และ อสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการในชุมชน โรงเรียนและฝึกปฏิบัติการตรวจ สารปนเปื้อนในอาหารและตรวจสารพิษตกค้างในผัก
  2. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนและสถานประกอบการด้านอาหาร
  3. ตรวจการคงสภาพแหล่งจำหน่ายอาหารตามมาตรฐาน CFGT  และร้านจำหน่ายอาหารสด
    ตามมาตรฐาน FS และตลาดนัดในชุมชน
  4. จัดซื้อชุดตรวจสำหรับตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและตรวจยาฆ่าแมลงในผักตัวอย่าง
  5. นำผลการตรวจเผยแพร่แก่ชุมชนและนำปัญหาที่พบสู่การแก้ไขและพัฒนาโดยประสาน ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย
  6. พัฒนาแผงลอยจำหน่ายอาหาร ปลอดโฟม  และหม้อก๋วยเตี๋ยวปลอดภัย
  7. สรุปประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

หลักสูตรการอบรม
ใช้วิธีการบรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติ แบ่งกลุ่มย่อย
1. บรรยายความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารและความสำคัญของการเลือกซื้ออาหาร    1   ชั่วโมง 2. บรรยายความรู้เกี่ยวกับสารปนเปื้อนในอาหาร        1   ชั่วโมง 3. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติขั้นตอนการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร  และตรวจยาฆ่าแมลงในผัก   2  ชั่วโมง 4. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติขั้นตอนการตรวจประเมิน CFGT    2 ชั่วโมง 

งบประมาณ
จากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะขนุนเป็นเงินทั้งสิ้น รายละเอียดต่อไปนี้ 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คนๆละ 1 มื้อๆละ 80 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนๆ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 4.ค่าวัสดุอุปกรณ์ตามโครงการ
       4.1 .ค่าเอกสาร จำนวน 170  ชุดๆละ 2 บาท เป็นเงิน 340 บาท         4.2 ชุดทดสอบยาฆ่าแมลง จำนวน 1  กล่องละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท (1 ชุดตรวจได้ 10 ตัวอย่าง)            4.3 ถุงมือ จำนวน 2 กล่องๆละ  100   บาท เป็นเงิน 200 บาท        4.4 ชุดตรวจโคลิฟอร์มในอาหาร SI2  จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 850 บาท เป็นเงิน 1,700 บาท (1 ชุดตรวจได้ 50 ตัวอย่าง)            4.5 ค่าสำลีชุบเอทิลแอลกอฮอล์ จำนวน 15 แผงๆละ 8 บาท เป็นเงิน 120 บาท 4.6 ป้าย CFGT จำนวน 20 ป้ายๆละ 500 บาท เป็นเงิน  10,000  บาท 4.7 เอี๊ยม หมวก จำนวน  20  ชุดๆละ 160 บาท เป็นเงิน  3,200 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 33,360  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 8 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. ผู้ประกอบการชุมชน โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขได้รับความรู้ในเรื่องการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพ จำนวน ๑๐๐ คน ๒. อาสาสมัครสาธารณ์สุขและผู้ประกอบการในชุมชน โรงเรียน สามารถปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจสารพิษตกค้างในผักได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
33360.00

กิจกรรมที่ 2 ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาฆ่าแมลงในผัก

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาฆ่าแมลงในผัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1  ตรวจการคงสภาพแหล่งจำหน่ายอาหารตามมาตรฐาน CFGT  และร้านจำหน่ายอาหารสด
ตามมาตรฐาน FS และตลาดนัดในชุมชน 2. ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและตรวจยาฆ่าแมลงในผักตัวอย่าง

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.  แผงลอยจำหน่าย ร้านขายของชำ และโรงอาหารในโรงเรียน ทุกแห่ง สามารถเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์มาจำหน่ายในพื้นที่อย่างมีคุณภาพ 2.  แผงลอยจำหน่าย ร้านขายของชำ และโรงอาหารในโรงเรียน ทุกแห่ง ได้รับการตรวจ สารปนเปื้อนในอาหารและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 3.  แผงลอยจำหน่าย ร้านขายของชำ และโรงอาหารในโรงเรียน ทุกแห่ง รับทราบข้อมูลการ ตรวจปนเปื้อนในอาหารและมาตรฐานผลิตภัณฑ์และนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ได้มาตรฐาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,360.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. แผงลอยจำหน่าย ร้านขายของชำ และโรงอาหารในโรงเรียน ทุกแห่งสามารถเลือกซื้อ
ผลิตภัณฑ์มาจำหน่ายในพื้นที่อย่างมีคุณภาพ
2. แผงลอยจำหน่าย ร้านขายของชำ และโรงอาหารในโรงเรียน ทุกแห่งได้รับการตรวจ
สารปนเปื้อนในอาหารและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
3. แผงลอยจำหน่าย ร้านขายของชำ และโรงอาหารในโรงเรียน ทุกแห่งรับทราบข้อมูลการ
ตรวจปนเปื้อนในอาหารและมาตรฐานผลิตภัณฑ์และนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ได้มาตรฐาน


>