กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมคุ้มครองผู้บริโภค
วันที่อนุมัติ 2 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 33,360.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกรรญา ดวงประทุม ประธานชมรมคุ้มครองผู้บริโภค
พี่เลี้ยงโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะขนุน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะขนุน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 7 ก.พ. 2563 7 ก.พ. 2563 33,360.00
รวมงบประมาณ 33,360.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ
74.00
2 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
22.96
3 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร
0.00
4 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
64.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อ เพิ่มขึ้น

74.00 86.00
2 เพื่อเพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น

22.96 33.00
3 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

0.00 0.00
4 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

64.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 268 33,360.00 2 33,360.00
8 ก.พ. 63 อบรมให้ความรู้ ผู้ประกอบการในชุมชน โรงเรียน และ อสม. 100 33,360.00 33,360.00
8 ก.พ. 63 - 30 ก.ย. 63 ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาฆ่าแมลงในผัก 168 0.00 0.00
  1. ฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการในชุมชน โรงเรียนและฝึกปฏิบัติการตรวจ สารปนเปื้อนในอาหารและตรวจสารพิษตกค้างในผัก
  2. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนและสถานประกอบการด้านอาหาร
  3. ตรวจการคงสภาพแหล่งจำหน่ายอาหารตามมาตรฐาน CFGT และร้านจำหน่ายอาหารสด
    ตามมาตรฐาน FS และตลาดนัดในชุมชน
  4. จัดซื้อชุดตรวจสำหรับตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและตรวจยาฆ่าแมลงในผักตัวอย่าง
  5. นำผลการตรวจเผยแพร่แก่ชุมชนและนำปัญหาที่พบสู่การแก้ไขและพัฒนาโดยประสาน ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย
  6. พัฒนาแผงลอยจำหน่ายอาหาร ปลอดโฟม และหม้อก๋วยเตี๋ยวปลอดภัย
  7. สรุปประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

  8. หลักสูตรการอบรม
    ใช้วิธีการบรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติ แบ่งกลุ่มย่อย

  9. บรรยายความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารและความสำคัญของการเลือกซื้ออาหาร  1  ชั่วโมง
  10. บรรยายความรู้เกี่ยวกับสารปนเปื้อนในอาหาร 1  ชั่วโมง
  11. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติขั้นตอนการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาฆ่าแมลงในผัก  2 ชั่วโมง
  12. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติขั้นตอนการตรวจประเมิน CFGT 2  ชั่วโมง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ประกอบการชุมชน โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขได้รับความรู้ในเรื่องการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพ จำนวน ๑๐๐ คน
  2. อาสาสมัครสาธารณ์สุขและผู้ประกอบการในชุมชน โรงเรียน สามารถปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและตรวจสารพิษตกค้างในผักได้ 3.  แผงลอยจำหน่าย ร้านขายของชำ และโรงอาหารในโรงเรียน ทุกแห่ง สามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์มาจำหน่ายในพื้นที่อย่างมีคุณภาพ
  3. แผงลอยจำหน่าย ร้านขายของชำ และโรงอาหารในโรงเรียน ทุกแห่ง ได้รับการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
  4. แผงลอยจำหน่าย ร้านขายของชำ และโรงอาหารในโรงเรียน ทุกแห่ง รับทราบข้อมูลการตรวจปนเปื้อนในอาหารและมาตรฐานผลิตภัณฑ์และนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ได้มาตรฐาน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 มี.ค. 2564 12:58 น.