กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19โรงเรียนบ้านพระพุทธ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา

โรงเรียนบ้านพระพุทธ

นางสินีนาฎ หะยีเด เบอร์โทร 0827337392

โรงเรียนบ้านพระพุทธ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียน ครูและบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

 

70.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มให้นักเรียน ครูและบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของนักเรียน ครูและบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

70.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ครูและบุคลากร 26
นักเรียนชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 384

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) โดยวิทยากร ค่าใช้จ่าย -ค่าวิทยากร 500 บาท/ชั่วโมง จำนวน 2 ชั่วโมง = 1,000 บาท -อาหารว่างและเครื่องดื่ม 15 บาท/คน/มื้อ จำนวน 1 มื้อ นักเรียน 384 คน = 5,760 บาท -ค่าวัสดุสำนักงาน 800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 1 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายได้ความรู้ในเรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) จากวิทยากร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7560.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการป้องกันและเฝ้าระวัง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการป้องกันและเฝ้าระวัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วัสดุ อุปกรณ์ในการเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด (COVID-19)
ค่าใช้จ่าย -หน้ากากผ้า จำนวน 820 ชิ้น x 10 บาท = 8,200 บาท -เจลล้างมือ แอลกอฮอล์ ขนาด 1,000 มล. จำนวน 7 ขวด x 340 บาท = 2,380 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียน ครูและบุคลากรมีวัสดุ อุปกรณ์ในการเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด (COVID-19) อย่างเพียงพอ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10580.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการตรวจคัดกรอง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการตรวจคัดกรอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ครูเวรประจำวัน ทำการตรวจคัดกรองนักเรียน ครูและบุคลากรทุกคนก่อนเข้ามาในบริเวณโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียน ครูและบุคลากรทุกคนได้รับการคัดกรองทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการรณรงค์ทำความสะอาด BIG CLEANING DAY

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการรณรงค์ทำความสะอาด BIG CLEANING DAY
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

นักเรัยน ครูและบุคลากรช่วยกันรณรงค์ทำความสะอาดโดยการปัดกวาด เช็ดถูด้วยน้ำยาทำความสะอาดในบริเวณห้องเรียนของตนเอง เช่น โต๊ะ เก้าอี้ สมุด หนังสือ พื้นห้องเรียน ตู้ ชั้นวางของ เป็นต้น ค่าใช้จ่าย -น้ำยาทำความสะอาดฆ่าเชื้อไฮเตอร์ ขนาด 1,500 มล. จำนวน 20 ขวด x ขวดละ 75 บาท = 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 สิงหาคม 2564 ถึง 30 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียน ครูและบุคลากรมีห้องเรียนที่สะอาด ปลอดจากเชื้อโรค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,640.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

นักเรียน ครูและบุคลากรมีความรู้ในเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวันได้ทุกคน


>