กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19โรงเรียนบ้านพระพุทธ
รหัสโครงการ 64-L8287-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านพระพุทธ
วันที่อนุมัติ 24 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2564
งบประมาณ 19,640.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสินีนาฏ หะยีเด
พี่เลี้ยงโครงการ นายธนพล จรสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.833212,100.940972place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 46 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 338 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 26 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียน ครูและบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

องค์กรอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณะสุขระหว่างประเทศ” เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณะสุขได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) หรือ โรคไวรัสโคโรน่า (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย หน่วยงานของรัฐและเอกชนได้ดำเนินการสนับสนุนให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อควบคุมการแพร่ และการระงับการระบาดของโรคนั้น สถานศึกษามีความจำเป็นในการประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อให้แก่นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคให้ทันต่อสถานการณ์เช่นกัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มให้นักเรียน ครูและบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของนักเรียน ครูและบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

70.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 1614 19,640.00 4 19,640.00
1 มิ.ย. 64 - 31 ธ.ค. 64 กิจกรรมการป้องกันและเฝ้าระวัง 410 10,580.00 10,580.00
1 มิ.ย. 64 - 31 ธ.ค. 64 กิจกรรมการตรวจคัดกรอง 410 0.00 0.00
30 ส.ค. 64 กิจกรรมการรณรงค์ทำความสะอาด BIG CLEANING DAY 410 1,500.00 1,500.00
27 ธ.ค. 64 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 384 7,560.00 7,560.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียน ครูและบุคลากรมีความรู้ในเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวันได้ทุกคน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2564 00:00 น.