กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านระหว่างควน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

โรงเรียนบ้านระหว่างควน

โรงเรียนบ้านระหว่างควน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรงเรียนบ้านระหว่างควนมีนักเรียนจำนวน 62 คน มีการดูแลสุขภาพนักเรียนโดยการจัดบริการในการดูแลปฐมพยาบาลเมื่อมีนักเรียนประสบอุบัติเหตุและได้รับบาดเจ็บ ซึ่งสถิติการบาดเจ็บของนักเรียนขณะอยู่ที่โรงเรียน โดยเฉลี่ย 10-20 ราย/ปี และมีการจัดกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนจำนวน 2 ครั้ง/เทอม ภาวะโภชนาการดังนี้ สมส่วน ร้อยละ 70.65เริ่มอ้วนร้อยละ 11.01 อ้วน ร้อยละ4.59 ท้วม ร้อยละ 9.17 ค่อนข้างผอมร้อยละ 2.75 ผอมร้อยละ 1.63 และการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กโดยการทดสอบสมรรถภาพปีละ 1 ครั้ง โรงเรียนบ้านระหว่างควนได้ให้ความรู้ทางด้านสุขภาพนักเรียนตามฤดูกาลเกิดโรคอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับในขณะนี้มีสถาการณ์ โควิด 19 ซึ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเปราะบางสำหรับโรคโควิด 19 จำเป็นอย่างยิ่งที่โรงเรียนจะต้องหาวัสดุสำหรับการปกป้องนักเรียน รวมทั้งการเฝ้าระวังให้นักเรียนปลอดจากโควิด 19 และจัดหาปัจจัยเอื้อในการส่งเสริมสุขภาพให้กับนักเรียนเพื่อการมีสุขภาพที่ดีต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนทางด้านสุขภาพ

นักเรียนผ่านการอบรมหลักสูตร อย. น้อยจำนวน 20 คน

0.00 20.00
2 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ทางด้านสุขภาพ

มีการจัดกิจกรรมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการตอบปัญหาด้านสุขภาพจำนวน 1 ครั้ง/สัปดาห์

0.00 10.00
3 เพื่อให้นักเรียนได้มีวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และจัดบริการในการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

โรงเรียนมีวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และจัดบริการในการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

0.00 1.00
4 เพื่อให้นักเรียนได้มีวัสดุอุปรณ์ที่จำเป็นและเพียงพอต่อการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

นักเรียนมีฟันผุไม่เกินร้อยละ 49

60.00 49.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 30/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมแกนนำ อย. น้อย

ชื่อกิจกรรม
อบรมแกนนำ อย. น้อย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (23 คน x 25 บาท x 1 มื้อ) เป็นเงิน 575 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร (3 ชั่วโมง x 600 บาท) เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ไวนิลอบรมแกนนำ อย. น้อย ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 300 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
30 เมษายน 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทา่งด้านสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2675.00

กิจกรรมที่ 2 การจัดกิจกรรมนิทรรศการความรู้/ ตอบปัญหาทางด้านสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
การจัดกิจกรรมนิทรรศการความรู้/ ตอบปัญหาทางด้านสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าของรางวัลสำหรับนักเรียนที่ชนะการตอบปัญหาความรู้ทางด้านสุขภาพ 2,000 บาท
  • ป้ายโฟมบอร์ดความรู้ด้านสุขภาพ การป้องกันโรค COVID-19 ขนาด 1.5 x 1 เมตร จำนวน 8 แผ่น (8 แผ่น x 720 บาท) เป็นเงิน 5,760 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7760.00

กิจกรรมที่ 3 จัดหาวัสดุเพือจัดบริหารปฐมพยาบาลเบื้องต้นและจัดบริการในการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
จัดหาวัสดุเพือจัดบริหารปฐมพยาบาลเบื้องต้นและจัดบริการในการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าที่วัดส่วนสูง จำนวน 1 อัน เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าสบู่เหลวล้างมือขนาด 300 ml (24 ขวด x 50 บาท) เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าแอลกอฮอล์ล้างมือขนาด 1,000 ml (10 ขวด x 200 บาท) เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าขวดแบ่งบรรจุแอลกอฮอล์ล้างมือขนาด 300 ml (10 ขวด x 40 บาท) เป็นเงิน 400 บาท
  • ค่าผ้ายางกันเปือน (4 ผืน* 150 บาท) เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าถุงดำ (3 กิโลกรัม * 35 บาท) เป็นเงิน 105 บาท
  • ค่าหน้ากากอนามัย (3 กล่อง x 90 บาท) เป็นเงิน 270 บาท
  • ค่าถุงมือ (2 กล่อง x 220 บาท) เป็นเงิน 440 บาท
  • ค่าป้ายโฟมบอร์ดข้อมูลการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การดูแลสุขภาพของร่างกายขนาด 1.5 x 1 เมตร(4 แผ่น x 720 บาท) เป็นเงิน 2,880 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
30 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

โรงเรียนมีวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับใช้ในการปฐมพยาบาลและส่งเสริมด้านสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11895.00

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่ายาสีฟันขนาดใหญ่จำนวน(12 หลอด x 40 บาท) เป็นเงิน 480 บาท
  • ค่าแปรงสีฟันนักเรียน (62 คน x 2 เทอม x 20 บาท) เป็นเงิน 2,480 บาท
  • ค่าโฟมบอร์ดการดูแลสุขภาพช่องปาก ขนาด 1.5 x 1 เมตร (2 แผ่น x 720 บาท) เป็นเงิน 1,440 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
30 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนมีวัสดุอุปกรณ์จำเป็นสำหรับการดูแลสุขภาพช่องปาก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,730.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนมีสุขภาพดี
2. โรงเรียนมีวัสดุในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนอย่างเพียงพอ


>