กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน ลดเสี่ยงโรคเรื้อรังรพ.สต.ท่าแมงลัก ปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก

นางนวนจิลา บัวศรี

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสียงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

0.00
2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ ๒. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓. เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย๔. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงทุกรายที่ผ่านการตรวจค่าน้ำตาลในเลือดแบบอดอาหาร ( FBS) และมีค่าน้ำตาล 100-125 mg% ได้รับการตรวจความทนทานต่อกลูโคส (75gm OGTT)

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ ๕ ๒. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลง ร้อยละ ๒.๕ ๓. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๔๐ ๔. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๕๐ ๕. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr  มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ ๖๖ ๖. ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง เบาหวาน และความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๕๐
๗. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรังมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้

20.00 50.00

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ ๒. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓. เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย๔. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงทุกรายที่ผ่านการตรวจค่าน้ำตาลในเลือดแบบอดอาหาร ( FBS) และมีค่าน้ำตาล 100-125 mg% ได้รับการตรวจความทนทานต่อกลูโคส (75gm OGTT)

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 1
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 2
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 2
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาและนำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ

ชื่อกิจกรรม
จัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาและนำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่มีค่าใช่จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ไม่มีค่าใช้จ่าย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันจำนวน 80 คน x 50 บาท เป็นเงิน 4,๐๐๐ บาท
  • ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันจำนวน 80 คน x ๒ มื้อ x ๒๕ บาท เป็นเงิน 4,๐๐๐ บาท
  • ค่าน้ำตาลกลูโคสชนิดผง จำนวน ๒๕ กระป๋อง x ๖๕ บาท x ๒ ครั้งเป็นเงิน ๓,๒๕๐บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 14 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กินน้ำตาลกลูโคส

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11250.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มป่วยเบาหวานความดันจำนวน 70 คน x 50 บาทเป็นเงิน3500 บาท
  • ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มป่วยเบาหวานความดันจำนวน 70 คน x ๒ มื้อ x ๒๕ บาทเป็นเงิน35๐๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
14 มิถุนายน 2564 ถึง 14 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคไต ระยะที่ ๑-๓

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคไต ระยะที่ ๑-๓
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มป่วยโรคไต ระยะที่ ๑-๓ จำนวน 70 คน x 50 บาท เป็นเงิน 3500
  • ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มป่วยโรคไต ระยะที่ ๑-๓ จำนวน 70 คน x ๒ มื้อ x ๒๕ บาท เป็นเงิน 3500 บาท -ค่าไวนิลขนาด 1.20 x2.40 เมตร เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2564 ถึง 10 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  3 เดือน  เจาะน้ำตาล เจาะlab DM/HT  ประเมิณผล ติดตามต่อ 6เดือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,750.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
๒.เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
๓.เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
๔.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองตามมาตรฐานและมีคุณภาพ
๕.ผู้ป่วยได้รับการเข้าถึงบริการตรวจรักษาตามเกณฑ์มาตรฐาน


>