กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตดี ไม่บูลลี่ใคร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ

โรงเรียนพัฒนศาสตร์

โรงเรียนพัฒนศาสตร์ ตำบลน้ำดำ อ.ทุ่งยางแดง จ.ปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเยาวชนในโรงเรียน(อายุ 10-15 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพจิต

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างทักษะและให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลนักเรียนให้มีสุขภาพจิตที่ดี โดยการอบรมให้แก่ครูและบุคคลากรภายในโรงเรียน ข้อที่ 2. อบรมเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขภาพจิตแก่นักเรียน ด้วยการส่งเสริมแนวคิดและพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่นักเรียนผ่านสื่อและกิจกรรมต่าง ๆ ข้อที่ 3 เพื่อให้นักเรียนผลิตสื่อที่ส่งเสริมการมีสุขภาพจิตที่ดีและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการกลั่นแกล้งเพื่อนในโรงเรียนผ่านสื่อออนไลน์และออฟไลน์
  • ครูและบุคลากร จำนวน 18 คน ได้รับการอบรมเรื่องการกลั่นแกล้งในเด็กนักเรียน จนเกิดความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลนักเรียนที่ถูกต้อง
  • คู่มือครูเรื่องการจัดการการกลั่นแกล้งเพื่อนในโรงเรียน
  • นักเรียนจำนวน 185 คน ผ่านการอบรมและการทำกิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบของปัญหาการกลั่นแกล้งเพื่อนในโรงเรียน
  • ได้สื่อและกิจกรรมการต่อต้านและการส่งเสริมแนวคิดและพฤติกรรมที่ถูกต้องเกี่ยวกับการกลั่นแกล้งเพื่อน จำนวน 8 กิจกรรม ได้แก่
    1) กิจกรรมสร้างและเล่านิทาน
    2) กิจกรรมการ การจัดบอร์ด แผ่นพับ
    3) กิจกรรมการทำสื่อออนไลน์ 4) กิจกรรมการถ่ายทำหนังสั้น 5) กิจกรรมการแข่งขันการจินตนาการวาดภาพระบายสี
    6) กิจกรรมการแต่งกลอนหรือคำขวัญ
    7) กิจกรรมสร้างความเข้าอกเข้าใจในหมู่นักเรียน
    8) กิจกรรมการเผยแพร่ทั้งในแบบออนไลน์และออฟไลน์
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 185
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 22/03/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดทำคู่มือ อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
จัดทำคู่มือ อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) ขั้นตอน/กิจกรรม ลักษณะกิจกรรม วันปฏิบัติงาน P = Plan(การวางแผน) - ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อชี้แจงกำหนดโครงการ - ประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการ เพื่อพิจารณาวางแผน รูปแบบของกิจกรรม จำนวนงบประมาณที่เหมาะสม วันที่ดำเนินโครงการพร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบโครงการมีนาคม 2564 - นัดหมายผู้รับผิดชอบเพื่อประชุมวางแผนการดำเนินงาน -


ประชุมเพื่อกำหนดผู้รับผิดชอบฝ่ายต่าง ๆ ของโครงการพร้อมกำหนดลักษณะกิจกรรมต่าง ๆ ภายในโครงการ - วางกำหนดการประชุมคณะกรรมการเพื่อติดตามการเตรียมงานของฝ่ายต่าง ๆ มีนาคม
2564 - ร่างคำสั่งแต่งตั้งฯ - ร่างคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ ฯมีนาคม
2564 - ร่างใบเสนอโครงการ - ร่างใบเสนอโครงการเสนอต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำดำ มีนาคม
2564 - เสนอใบโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ - เสนอใบโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ มีนาคม
2564 - ประชุมกับผู้รับผิดชอบโครงการ - ประชุมเพื่อวางแผนการเตรียมงาน มีนาคม
2564 D = Do (การปฏิบัติ) - ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณ - ดำเนินการเกี่ยวกับการเบิก-จ่าย งบประมาณดำเนินโครงการ พฤษภาคม 2564 - จัดเตรียมงาน - ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมความพร้อม - ทุกกิจกรรมเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ ตามแผนของแต่ละกิจกรรม ฝ่ายวิชาการ 1. ศึกษาและวิเคราะห์บทเรียนการกลั่นแกล้งในโรงเรียน 2. ออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมต่อวัยของนักเรียน 3.จัดทำคู่มือครูและนักเรียน ฝ่ายกิจกรรม - เตรียมสถานที่จัดกิจกรรม - เตรียมใบลงทะเบียนและใบประเมิน - เตรียมอาหารและเครื่องดื่มภายในงาน(ถ้ามี) - เตรียมรถ (กรณีกิจกรรมออกนอกพื้นที่)
พฤษภาคม2564 - ดำเนินโครงการตามกำหนดการ - ผู้รับผิดชอบกิจกรรมควบคุมการดำเนินโครงการให้เป็นไปตามรูปแบบที่กำหนดไว้ ดังนี้ - ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน - ดำเนินโครงการตามแผนที่กำหนดไว้ - บันทึกวีดิโอและภาพนิ่งของกิจกรรมนั้นๆ มิถุนายน-กรกฎาคม 2564 C = Check (การตรวจสอบ) - ติดตามและตรวจสอบการดำเนินงานขณะปฏิบัติงาน - ประธานโครงการ ติดตาม และตรวจสอบการดำเนินโครงการให้เป็นไปตามรูปแบบที่กำหนดไว้ มิถุนายน-กรกฎาคม 2564 - ประเมินโครงการหลังเสร็จสิ้นการจัดงาน - ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน - สัมภาษณ์นักเรียน และ ครู - ให้นักเรียน และ ครู ทำแบบทดสอบวัดความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม - สรุปและประเมินผลการดำเนินงานต่างๆ เชิงสถิติ สิงหาคม 2564 A = Action (การปรับปรุงและพัฒนา) - รวบข้อมูลและสรุปผลการประเมิน - รวบรวมข้อมูลและสรุปผลการประเมินตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ สิงหาคม 2564 -รวบรวมข้อมูลและสรุปปัญหา/ข้อเสนอแนะอุปสรรค - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ เพื่อรวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ และอุปสรรคจากฝ่ายต่างๆ เพื่อจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการเสนอต่อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในลำดับต่อไป สิงหาคม 2564 - สรุปค่าใช้จ่ายในโครงการ - สรุปค่าใช้จ่ายในโครงการ สิงหาคม 2564 - สรุปผลการดำเนินโครงการ - จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ สิงหาคม 2564 1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างทักษะและความรู้ความเข้าใจในการดูแลนักเรียนให้แก่ครูและบุคคลากรภายในโรงเรียน 4,750 บาท


มิ.ย. 64 1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับครูและบุคลากร รวมจำนวน 18 คน1 มื้อ x 25 บ. x 18 คน = 450 บ.
1.2 ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน ๆ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท1 คน x 3 ชั่วโมง x 600 บาท = 1,800 บ.
1.3 ค่าป้ายโครงการอบรม1 ป้าย x 2 เมตรๆ ละ 250 บาท = 500 บ.
1.4 ค่าจัดทำคู่มือครู จำนวน 20 เล่ม เล่มละ 100 บาท 20 เล่ม x 100 บาท = 2,000 บ.
กิจกรรมตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2. อบรมเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขภาพจิตแก่นักเรียน ด้วยการส่งเสริมแนวคิดและพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่นักเรียนผ่านสื่อและกิจกรรมต่าง ๆ 2. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องส่งเสริมสุขภาพจิตดี ไม่บูลลี่ใคร ระดับชั้น ป.1 – ม.3 7,800 บาท

มิ.ย. 64 2.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับนักเรียนชั้น ป.1 – ม.3 จำนวน 185 คน1 มื้อ x 20 บ. x 185 คน = 3,700 บ.
2.2 ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน ๆ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท2 คน x 3 ชั่วโมง x 600 บาท = 3,600 บ.
2.3 ค่าป้ายโครงการอบรม1 ป้าย x 2 เมตรๆ ละ 250 บาท = 500 บ.
กิจกรรมตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้นักเรียนผลิตสื่อที่ส่งเสริมการมีสุขภาพจิตที่ดีและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการกลั่นแกล้งเพื่อนในโรงเรียนผ่านสื่อออนไลน์และออฟไลน์ 3. จัดกิจกรรมผลิตสื่อและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการกลั่นแกล้งเพื่อนในโรงเรียนผ่านสื่อออนไลน์และออฟไลน์ 12,450








ก.ค. 64 1) กิจกรรมสร้างและเล่านิทาน แยกเป็น 2 ส่วน คือ - นักเรียนที่สร้างนิทาน คือระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 50 คน
- นักเรียนที่ถูกเล่านิทาน คือระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 76 คน 5,500 บาท
- อาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาจำนวน 50 คน 20 บ. x 50 คน = 1,000 บ.
- ค่าวัสดุอุปกรณ์และการจัดพิมพ์นิทาน 9 เรื่อง ๆ ละ 1 เล่ม9 เรื่อง/9เล่ม x 10 ชุด x 50 บาท = 4,500 บ.
2) กิจกรรมการ การจัดบอร์ด แผ่นพับ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 85 คน 2,150
- อาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาจำนวน 85 คน 20 บ. x 85 คน = 1,700 บ.
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดบอร์ด450 บ.
3) กิจกรรมการทำสื่อออนไลน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 -
4) กิจกรรมการถ่ายทำหนังสั้น ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 1,000 บาท
- ค่าถ่ายทำและตัดต่อวิดีโอห้องละ 1 เรื่อง จำนวน 4 ห้อง รวม 4 เรื่อง4 เรื่อง x 250 บาท= 1,000 บ.
5) กิจกรรมการแข่งขันการจินตนาการวาดภาพระบายสี ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 2,400 บาท
- ค่ารางวัล ห้องละ 3 รางวัล จำนวน 3 ห้อง3 ห้อง x 600 บาท= 1,800 บ.
- ค่ากระดาษวาดภาพและสีไม้ จำนวน 3 ห้องวัสดุวาดภาพ 200 บาท x 3 ห้อง = 600 บ.
6) กิจกรรมการแต่งกลอนหรือคำขวัญ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6
- ค่ารางวัล จำนวน 5 รางวัล รางวัลละ 200 บาท 1,000 บาท
7) กิจกรรมสร้างความเข้าอกเข้าใจในหมู่นักเรียน ระดับชั้น ป.1-ม.3 -
8) กิจกรรมการเผยแพร่ทั้งในแบบออนไลน์และออฟไลน์ จำนวน 20 คน 400 บ.
- อาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับนักเรียนชั้น ป.4-ป.6 จำนวน 20 คน 20 บ. x 20 คน = 400 บ.
รวม 25,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ครูและบุคลากร จำนวน 18 คน ได้รับการอบรมเรื่องการกลั่นแกล้งในเด็กนักเรียน จนเกิดความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลนักเรียนที่ถูกต้อง
  • คู่มือครูเรื่องการจัดการการกลั่นแกล้งเพื่อนในโรงเรียน
  • นักเรียนจำนวน 185 คน ผ่านการอบรมและการทำกิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบของปัญหาการกลั่นแกล้งเพื่อนในโรงเรียน
  • ได้สื่อและกิจกรรมการต่อต้านและการส่งเสริมแนวคิดและพฤติกรรมที่ถูกต้องเกี่ยวกับการกลั่นแกล้งเพื่อน จำนวน 8 กิจกรรม ได้แก่
    1) กิจกรรมสร้างและเล่านิทาน
    2) กิจกรรมการ การจัดบอร์ด แผ่นพับ
    3) กิจกรรมการทำสื่อออนไลน์ 4) กิจกรรมการถ่ายทำหนังสั้น 5) กิจกรรมการแข่งขันการจินตนาการวาดภาพระบายสี
    6) กิจกรรมการแต่งกลอนหรือคำขวัญ
    7) กิจกรรมสร้างความเข้าอกเข้าใจในหมู่นักเรียน
    8) กิจกรรมการเผยแพร่ทั้งในแบบออนไลน์และออฟไลน์
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ครูมีความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักถึงความสำคัญของการกลั่นแกล้งในโรงเรียนและทักษะในการดูแลนักเรียน
2. นักเรียนมีแนวคิดและพฤติกรรมที่ไม่กลั่นแกล้งคนอื่น และกล้าที่จะตอบโต้ไปในทางที่ดีเมื่อเป็นฝ่ายถูกกระทำ
3. ได้โรงเรียนเป็นพื้นที่ที่ปลอดภัย สำหรับนักเรียนทุกคน และนักเรียนมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น


>