กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะขวาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มเสี่ยง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะขวาง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะขวาง

1.นายประยุทธ วาสนาวิน ตำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำบลเกาะขวาง
2.นางสาวสุปาณี กลีบสุวรรณ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
3.นางสุภัค สิทธิโชติ ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริการสาธารณสุข
4.นางรุ่งรัตน์ ทองพูล ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะขวาง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

 

75.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

75.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

 

20.00
4 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

65.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อ เพิ่มขึ้น

75.00 80.00
2 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

75.00 80.00
3 เพื่อลดพฤติกรรมการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ ลดลง

20.00 10.00
4 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

65.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2020

กำหนดเสร็จ 31/12/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วย 3 อ. แก่กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วย 3 อ. แก่กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คนๆละ 80 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,200 บาท
  • ค่าอาหารว่างสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คนๆละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่ากระเป๋าผ้าใส่เอกสาร จำนวน 40 ใบๆละ 45 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าสมุดบันทึกกิจกรรม จำนวน 40 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 400 บาท
  • ค่าปากกา จำนวน 40 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 200 บาท
  • ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 40 ชุดๆละ 15 บาท เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าตอบแทนทีมวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าป้ายโครงการฯ ขนาด 1.5 x 3 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 700 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤศจิกายน 2563 ถึง 10 พฤศจิกายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองตามหลัก 3 อ. ที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

กิจกรรมที่ 2 ตรวจคัดกรอง เจาะเลือดกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
ตรวจคัดกรอง เจาะเลือดกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยให้บริการเจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อเป็นการตรวจสุขภาพประจำปี

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤศจิกายน 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับการเฝ้าระวัง ติดตามตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองตามหลัก 3 อ. ได้ถูกต้อง
2. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับการเฝ้าระวัง ติดตามตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องทุกปีจากเจ้าหน้าที่
3. กลุ่มเสี่ยงปรับพฤติกรรมได้ ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง


>