กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมความรู้ผู้ประกอบการร้านค้าและแกนนำสุขภาพเรื่องการผู้บริโภค อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะขนุน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมความรู้ผู้ประกอบการร้านค้าและแกนนำสุขภาพเรื่องการผู้บริโภค อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะขนุน

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านห้วยพลู

นางผดุงศรีอินประเสริฐ นายสวาท แสงสว่าง นางจันทราเข็มทอง นางสาวนิลเนตร กันมะณี นางทวี นพตากูล

หมู่ 4 , 6 , 9 , 10 , 11 , 12และหมู่ 14 ตำบลเกาะขนุนอำเภอพนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

 

86.00
2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร

 

7.20
3 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

22.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อ เพิ่มขึ้น

86.00 88.00
2 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

22.00 20.00
3 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

7.20 5.50

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2021

กำหนดเสร็จ 02/02/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้โดยแกนนำครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้โดยแกนนำครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 จัดทำแนวทางดำเนินงานโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในชุมชน 2 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดตั้งไลด์กลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค 3 รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลการเจ็บป่วยและข้อมูลร้านค้า แผงลอย ในชุมชน ฐานข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ร้านชำ ร้านยา/คลินิก สถานที่ผลิตอาหาร โรงเรียน และเครื่องสำอาง 4 จัดทำสื่อให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย แกนนำสุขภาพ และอสม. เรื่องงานคุ้มครองผู้บริโภคและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ผู้บริโภค 5 จัดหาอุปกรณ์สำหรับการตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร 6 ดำเนินการตรวจร้านชำและร้านขายอาหารสด สุ่มตรวจและส่งตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจสารปนเปื้อน ๖ ชนิด 7 เฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
8 การแจ้งข่าวในเวทีการประชุมต่างๆเช่นประชุมประจำเดือน อสม.ประชุมหมู่บ้าน
9 รายงานผลการสุ่มตรวจสารอาหารปนเปื้อนให้ร้านค้า แผงลอย ร้านขายของชำทราบทางไลด์กลุ่ม 10 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านงานคุ้งครองผู้บริโภคให้ประชาชนรับทราบโดยกลุ่มแกนนำสุขภาพและผู้ประกอบกสนร้านค้า/แผงลอย โดยการสื่อสารทางไลด์กลุ่ม 11 สรุปผลการดำเนินงาน

งบประมาณ
1.ค่ากระะเป๋าใส่เอกสารจำนวน140 ใบๆละ 150 บาทเป็นเงิน21,000 บาท รวมเป็นงบประมาณ21,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 2 กุมภาพันธ์ 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรม ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการเลือกสินค้ามาใช้อุปโภคและบริโภค ได้อย่างปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์และตรวจสารปนเปื้อนในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมรณรงค์และตรวจสารปนเปื้อนในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ดำเนินการตรวจร้านชำและร้านขายอาหารสด สุ่มตรวจและส่งตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจสารปนเปื้อน ๖ ชนิด 2.เฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
3.การแจ้งข่าวในเวทีการประชุมต่างๆเช่นประชุมประจำเดือน อสม.ประชุมหมู่บ้าน
4. รายงานผลการสุ่มตรวจสารอาหารปนเปื้อนให้ร้านค้า แผงลอย ร้านขายของชำทราบทางไลด์กลุ่ม 5.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านงานคุ้งครองผู้บริโภคให้ประชาชนรับทราบโดยกลุ่มแกนนำสุขภาพและผู้ประกอบกสนร้านค้า/แผงลอย โดยการสื่อสารทางไลด์กลุ่ม งบประมาณ
1. ค่าชุดตรวจสารปนเปื้อน เป็นเงิน5,000บาท 2.ค่าวัสดุ เป็นเงิน4,000 บาท รวมเป็นเงิน9,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารร้านชำได้รับการตรวจสารปนเปื้อน ทุกร้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ร้านจำหน่ายอาหารในเขตตำบลเกาะขนุนได้รับการตรวจอาหารและได้มาตรฐานจนได้รับป่ายอาหารปลอดภัย
2.ผู้บริโภคอาหารได้ใช้ผลิตภัณฑ์และบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน


>