กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ผู้ประกอบการร้านค้าและแกนนำสุขภาพเรื่องการผู้บริโภค อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านห้วยพลู
วันที่อนุมัติ 29 กันยายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางผดุงศรี อินประเสริฐ
พี่เลี้ยงโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะขนุน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะขนุน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 29 ม.ค. 2564 29 ม.ค. 2564 30,000.00
รวมงบประมาณ 30,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ
86.00
2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร
7.20
3 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย
22.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อ เพิ่มขึ้น

86.00 88.00
2 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

22.00 20.00
3 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

7.20 5.50
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 168 30,000.00 2 30,000.00
1 - 2 ก.พ. 64 อบรมให้ความรู้โดยแกนนำครัวเรือน 140 21,000.00 21,000.00
1 ก.พ. 64 - 30 ก.ย. 64 จัดกิจกรรมรณรงค์และตรวจสารปนเปื้อนในชุมชน 28 9,000.00 9,000.00

1 จัดทำแนวทางดำเนินงานโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในชุมชน 2 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดตั้งไลด์กลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค 3 รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลการเจ็บป่วยและข้อมูลร้านค้า แผงลอย ในชุมชน ฐานข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ร้านชำ ร้านยา/คลินิก สถานที่ผลิตอาหาร โรงเรียน และเครื่องสำอาง 4 จัดทำสื่อให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย แกนนำสุขภาพ และอสม. เรื่องงานคุ้มครองผู้บริโภคและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ผู้บริโภค 5 จัดหาอุปกรณ์สำหรับการตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร
6 ดำเนินการตรวจร้านชำและร้านขายอาหารสด สุ่มตรวจและส่งตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจสารปนเปื้อน ๖ ชนิด
7 เฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
8 การแจ้งข่าวในเวทีการประชุมต่างๆเช่นประชุมประจำเดือน อสม.ประชุมหมู่บ้าน
9 รายงานผลการสุ่มตรวจสารอาหารปนเปื้อนให้ร้านค้า แผงลอย ร้านขายของชำทราบทางไลด์กลุ่ม 10 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านงานคุ้งครองผู้บริโภคให้ประชาชนรับทราบโดยกลุ่มแกนนำสุขภาพและผู้ประกอบกสนร้านค้า/แผงลอย โดยการสื่อสารทางไลด์กลุ่ม 11 สรุปผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้านจำหน่ายอาหารในเขตตำบลเกาะขนุนได้รับการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและได้มาตรฐาน ได้รับป้ายอาหารปลอดภัย
  2. ผู้บริโภคอาหารได้ใช้ผลิตภัณฑ์ และบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 เม.ย. 2564 00:06 น.