กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเผชิญการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ตำบลเจ๊ะบิลัง ประจำปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านตำบลเจ๊ะบิลัง

1…นางสาวรัชดา…โกบปุเลา……………………………..….
2…นางสาวสายหนาบ…หลังจิ............……………………
3…นางสาวสีตีปาตีม๊ะ…หมันสง่า……………..……………
4…นางสาวมารุณี…ปีไสย………………..……….……..……
5…นางตีม๊ะ…ด่อล๊ะ

หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่การระบาดของโรคได้รับการคัดกรองอย่างครอบครัว

 

100.00
2 ร้อยละประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิท-19) ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิท-19) ได้อย่างทั่วถึง

 

100.00

ร้อยละของประชาชนได้รับผลกระทบจากโรคระบาดไวรัสโคโรน่า (โควิด-19)

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเฝ้าระวังสังเกตอาการบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่การระบาดของโรค
  1. ร้อยละ 100 ของบุคคลกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังสังเกตอาการที่บ้านครบ 14 วัน
100.00 1.00
2 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท-19) ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท-19) ได้อย่างทั่วถึง

ร้อยละ 100 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท-19) ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท-19) ได้อย่างทั่วถึง

100.00 1.00
3 3. เพื่อจัดทำทะเบียนบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ และคัดกรองค้นหาบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ได้อย่างครอบคลุม
  1. มีทะเบียนบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่กลุ่มเสี่ยงตามประกาศจังหวัด และคัดกรองบุคคลที่เดินทางเข้าออกในพื้นที่ได้
1.00 1.00
4 4. จัดทีมลงพื้นที่เพื่อติดตามและเฝ้าระวังในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
  1. ร้อยละ 100 สามารถเฝ้าระวัง ป้องการ และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส    โคโรนา 2019
1.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองและเฝ้าระวังบุคคลที่เดินทางมาจากต่างจังหวัดและประเทศเพื่อนบ้าน

ชื่อกิจกรรม
การคัดกรองและเฝ้าระวังบุคคลที่เดินทางมาจากต่างจังหวัดและประเทศเพื่อนบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประสาน อสม.ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ และคัดกรองบุคคลที่เดินทางมาจากต่างจังหวัดและประเทศเพื่อนบ้าน โดยติดตามอาการของผู้ที่ถูกกักกัน เป็นระยะเวลา 14 วัน
    1. คัดกรองบุคคลที่เดินทางเข้าออกในพื้นที่ ประจำจุดคัดกรองประจำตำบล
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. สามารถกักตัวกลุ่มเสี่ยงในสถานกักกันเพื่อสังเกตุอาการ (Home Quarantine) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ               2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท -19) ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท -19) ได้อย่างทั่วถึง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยให้กับชุมชนได้               3. จัดทำทะเบียนบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ และคัดกรองค้นหาบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ได้อย่างครอบคลุม               4. ติดตามและเฝ้าระวังในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและให้ความรู้กับประชาชน

ชื่อกิจกรรม
ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและให้ความรู้กับประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 สร้างความรู้ความเข้าใจแก่  อสม.เกี่ยวกับสถานการณ์โรค การป้องกันโรค การคัดกรองโรค
2.2 วางแผนเคาะประตูบ้าน 2.3 แบ่งสายลงพื้นที่ให้ความรู้เรื่องโรค การป้องกันโรค ประชาสัมพันธ์ แนะนำการล้างมือ 7 ขั้นตอนและการสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี 2.4 คัดกรองประชาชนในพื้นที่และเฝ้าระวังติดตามอาการผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง

ระยะเวลาดำเนินงาน
7 พฤษภาคม 2564 ถึง 20 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. สามารถกักตัวกลุ่มเสี่ยงในสถานกักกันเพื่อสังเกตุอาการ (Home Quarantine) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ               2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท -19) ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท -19) ได้อย่างทั่วถึง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยให้กับชุมชนได้               3. จัดทำทะเบียนบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ และคัดกรองค้นหาบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ได้อย่างครอบคลุม               4. ติดตามและเฝ้าระวังในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
50000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 70,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สามารถกักตัวกลุ่มเสี่ยงในสถานกักกันเพื่อสังเกตุอาการ (Home Quarantine) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท -19)
ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท -19) ได้อย่างทั่วถึง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยให้กับชุมชนได้
3. จัดทำทะเบียนบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ และคัดกรองค้นหาบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ได้อย่างครอบคลุม
4. ติดตามและเฝ้าระวังในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค


>