กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ตำบลเจ๊ะบิลัง ประจำปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ L7886/2564/2/12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านตำบลเจ๊ะบิลัง
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 70,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวีระชาติ ละอองพันธ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 3 พ.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 70,000.00
รวมงบประมาณ 70,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 55 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 55 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่การระบาดของโรคได้รับการคัดกรองอย่างครอบครัว
100.00
2 ร้อยละประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิท-19) ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิท-19) ได้อย่างทั่วถึง
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ร้อยละของประชาชนได้รับผลกระทบจากโรคระบาดไวรัสโคโรน่า (โควิด-19)

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเฝ้าระวังสังเกตอาการบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่การระบาดของโรค
  1. ร้อยละ 100 ของบุคคลกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามเฝ้าระวังสังเกตอาการที่บ้านครบ 14 วัน
100.00 1.00
2 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท-19) ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท-19) ได้อย่างทั่วถึง

ร้อยละ 100 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท-19) ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท-19) ได้อย่างทั่วถึง

100.00 1.00
3 3. เพื่อจัดทำทะเบียนบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ และคัดกรองค้นหาบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ได้อย่างครอบคลุม
  1. มีทะเบียนบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่กลุ่มเสี่ยงตามประกาศจังหวัด และคัดกรองบุคคลที่เดินทางเข้าออกในพื้นที่ได้
1.00 1.00
4 4. จัดทีมลงพื้นที่เพื่อติดตามและเฝ้าระวังในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
  1. ร้อยละ 100 สามารถเฝ้าระวัง ป้องการ และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส    โคโรนา 2019
1.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 200 70,000.00 2 70,000.00
1 เม.ย. 64 - 30 มิ.ย. 64 การคัดกรองและเฝ้าระวังบุคคลที่เดินทางมาจากต่างจังหวัดและประเทศเพื่อนบ้าน 200 20,000.00 20,000.00
1 เม.ย. 64 - 30 มิ.ย. 64 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและให้ความรู้กับประชาชน 0 50,000.00 50,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถกักตัวกลุ่มเสี่ยงในสถานกักกันเพื่อสังเกตุอาการ (Home Quarantine) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท -19) ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิท -19) ได้อย่างทั่วถึง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน สร้างความปลอดภัยให้กับชุมชนได้
  3. จัดทำทะเบียนบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ และคัดกรองค้นหาบุคคลที่เดินทางมาจากต่างพื้นที่ได้อย่างครอบคลุม
  4. ติดตามและเฝ้าระวังในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2564 00:00 น.