กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมพฤติกรรมการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างปลอดภัยของเกษตรกร ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ปี ๒๕๖๔

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โป่ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมพฤติกรรมการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างปลอดภัยของเกษตรกร ตำบลโป่ง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ปี ๒๕๖๔

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โป่ง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกกจำปา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกกจำปา

ตำบลโป่ง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๒.๑ เพื่อสร้างกระบวนการปรับเปลี่ยนแก่กลุ่มเสี่ยงในการใช้สารเคมีของเกษตรกรตำบลโป่ง ๒.๒ เพื่อสร้างความตระหนักแก่เกษตรกรตำบลโป่งในการลดใช้สารเคมี

๓.๑ เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี ตำบลโป่งได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๘๐ ๓.๒ เพื่อสร้างความตระหนักแก่เกษตรกรตำบลโป่งในการลดใช้สารเคมี

153.00 123.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 153
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรม

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๕.๑ ขั้นเตรียมการ         ๑.ประชุมทีมดำเนินการและเขียนโครงการเสนอของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโป่ง                     ๒.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใชัในดำเนินงาน         ๓.วางแผนการดำเนินงานการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย                     ๔. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใชัดำเนินงาน         ๕.จัดการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงในการคัดกรองปี ๒๕๖๔         ๖.ประเมินผลการให้ความรู้และการปฏิบัติตัว         ๗. สรุปผลโครงการ
   งบประมาณจากเงินกองทุนประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลโป่ง จำนวน ๓๐,๑๑๐.- บาท (สามหมื่นหนึ่งร้อยสิบบาทถ้วน ) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในโครงการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

           กิจกรรม  การอบรมให้ความรู้ กลุ่มเสี่ยงจำนวน  ๑๕๓ คน  โดยแบ่งเป็น  ๒ รุ่น  ค่าใช้จ่ายดังนี้     รุ่นที่ ๑      จำนวน  ๘๐  คน               ๑.ป้ายโครงการ ๑.๕ x ๓.๕ ตาราเมตร จำนวน ๑ ป้าย               เป็นเงิน ๕๐๐.- บาท
       ๒.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน ๘๐ คนๆละ ๒๕ บาท๒ มื้อ        เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท        ๓.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๘๐ คนๆละ ๘๐ บาท                        เป็นเงิน ๖,๔๐๐ บาท        ๔.ค่าวัสดุอุปกรณ์                          เป็นเงิน ๑,๖๐๐ บาท               ๕.ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน ๑  คน  X ๖  ชั่งโมง ๆ ละ ๓๐๐  บาท      เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท               ๖.ค่าเอกสารความรู้การใช้วสารเคมี จำนวน   ๘๐  ชุด ๆ ละ  ๒๐  บาท      เป็นเงิน ๑๖๐๐ บาท                            ค่าใช้จ่ายรุ่นที่๑ รวมเป็นเงิน ๑๕,๙๐๐ บาท


     รุ่นที่  ๒   จำนวน   ๗๓  คน           ๑.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน  ๗๓ คนๆ ละ ๒๕ บาท
๒ มื้อ           เป็นเงิน ๓,๖๕๐ บาท     ๒.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๗๓ คนๆ ละ ๘๐ บาท    เป็นเงิน            เป็นเงิน ๕,๘๔๐ บาท     ๓.ค่าวัสดุ                                   เป็นเงิน ๑,๔๖๐ บาท           ๔.ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน ๑  คน  X ๖  ชั่งโมง ๆ ละ ๓๐๐  บาท         เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท           ๕.ค่าเอกสารความรู้การใช้สารเคมี จำนวน   ๔๓  ชุด ๆ ละ  ๒๐  บาท          เป็นเงิน ๑๔๖๐ บาท                             ค่าใช้จ่ายรุ่นที่๒ รวมเป็นเงิน ๑๔,๒๑๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๓๐,๑๑๐.- บาท (สามหมื่นหนึ่งร้อยสิบบาทถ้วน ) หมายเหตุ : งบประมาณเบิกจ่ายแบบถัวเฉลี่ย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.เกษตรกรมีการใช้สารเคมีลดลง ๒.ประชาชนมีความตระหนักต่อการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30110.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,110.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.เกษตรกรมีการใช้สารเคมีลดลง
๒.ประชาชนมีความตระหนักต่อการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องมากขึ้น


>