กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่ รหัส กปท. L9256

อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยเรื้อรัง
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมชมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม)
กลุ่มคน
1.นางสุดาพรสุขวงศ์
2.นางบรรจงจิตด่านพรม
3.นางอุไรวงหาริมาตย์
4.นางสอน หล้าสวย
5.นางสมยาชิยางคะบุตร
3.
หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยในปัจจุบัน การเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในหลายๆโรคจะปรับเปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมของประชาชนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิต และโรคที่มีการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอาทิเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจหลอดเลือด เป็นต้น ซึ่งต้องได้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจนเกิดความพิการได้ถ้าไม่ได้รับการรักษา หรือขาดการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องนอกจากนี้ ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของประชากรทั้งหมด ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีความเปราะบางด้านสุขภาพกาย การจัดระบบการดูแลเพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ (Active Aging) มีความรู้ความสามารถและความมั่นคงในชีวิต ที่ผ่านมาทำได้ในระยะสั้น อีกทั้งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาดังกล่าวทั้งในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุและผู้พิการ มักส่งผลกระทบต่อทั้งญาติผู้ดูแลและผู้ป่วย ในบางรายญาติไม่มีเวลาพอที่จะมาดูแล หรือบางรายก็ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ หวังพึ่งพิงจากบุคลากรสาธารณสุขเพียงอย่างเดียว แต่บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ไม่เพียงพอต่อการให้บริการ และยังขาดการติดตามดูแลที่บ้านอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อทำให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพโดยไม่มีขีดจำกัดด้านเศรษฐกิจก่อให้เกิดผลดีต่อประชาชนการมีสุขภาพดีเป็นต้นทุนของทุกคนดังนั้นจึงควรทำให้มีสุขภาพดีตลอดการสร้างนำซ่อมหรือที่เรียกว่าการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจึงเป็นกระบวนการที่สำคัญแต่ปัจจุบันอัตราการรักษาพยาบาลสูงขึ้นค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่มมากขึ้นแต่ผลตอบแทนด้านสุขภาพน้อยเห็นได้จากอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้หรือโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการปฏิบัติตนยังมีอัตราที่สูงเช่นเบาหวานความดันโลหิตสูง ฯลฯ ตำบลนาพู่ พบว่าปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ไตวาย ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง ยังเป็นปัญหาของชุมชนจากการวิจัยชุมชนด้วยการวิจัยเชิงชาติพันธ์วรรณาตำบลนาพู่ปี ๒๕61 อนึ่งผู้ป่วยและประชาชนในชุมชน ตลอดจนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย และเข้าถึงประชาชนได้มากที่สุด อีกทั้ง อสม.เป็นเครือข่ายสุขภาพในระดับชุนชน ที่มีความรู้และมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน มีบทบาทหน้าที่กระจายความรู้ทางด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย หรือเมื่อมีการเจ็บป่วยก็สามารถรักษาเบื้องต้น ป้องกันและฟื้นฟูสภาพไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้ เพื่อเป็นการตอบสนองแผนปฏิบัติการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาพู่และธรรมนูญสุขภาพตำบลนาพู่พ.ศ.2557(ฉบับที่1) การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ และตามนโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค เพื่อเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพ และการจัดให้มีการดูแลกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การสร้างองค์ความรู้และมีเครือข่ายสุขภาพระดับชุมชนมีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากในการขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวให้ประสบผลสำเร็จ จึงต้องมีการดูแลสุขภาพที่บ้านแบบบูรณาการให้คำแนะนำ และความรู้แก่ญาติและผู้ป่วยที่บ้านจะก่อให้เกิดผลแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และยังมีผลต่อกลุ่มเป้าหมาย ให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลลงได้ด้วย และเพื่อให้ อสม. มีองค์ความรู้และทักษะการเยี่ยมบ้านที่ได้มาตรฐาน ครอบคลุมและต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน อยู่อย่างมีคุณภาพ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
    ขนาดปัญหา 28.00 เป้าหมาย 20.00
  • 2. เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
    ขนาดปัญหา 15.00 เป้าหมาย 5.00
  • 3. เพื่อให้ผู้ดูแลฟื้นฟูสุขภาพผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยเรื้อรัง ที่บ้านมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลถูกต้องเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลฟื้นฟูสุขภาพผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยเรื้อรัง ที่บ้านมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลถูกต้องเหมาะสมเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 200.00 เป้าหมาย 350.00
  • 4. เพื่อสนับสนุนอุปกรณ์ที่นอนลมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : สนับสนุนอุปกรณ์ที่นอนลมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ป่วยเรื้อรัง
    ขนาดปัญหา 11.00 เป้าหมาย 11.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้ ฟื้นฟูสุขภาพผู้พิการ ด้อยโอกาส ผู้ป่วยเรื้อรัง เพื่อเพิ่มทักษะการดูแล
    รายละเอียด

    -ค่าอาหารและอาหารว่าในการอบรม      เป็นเงิน 10,000  บาท -ค่าวิทยากรให้ความรู้การฟื้นฟูสุขภาพ    เป็นเงอน  3,000 บาท         ร่วมเป็นเงิน 13,000 บาท

    งบประมาณ 13,000.00 บาท
  • 2. สนับสนุนที่นอนลมให้แก้ผู้ที่ต้องการเพื่อฟื้นฟูสุขภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อน
    รายละเอียด

    ค่าอุปกรณืเพื่อสนับสนุนการฟื้นฟูสุขภาพ    เป็นเงิน  10,195  บาท

    งบประมาณ 10,195.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 22 ก.ค. 2567 ถึง 22 ก.ค. 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

พื่นที่ตำบลนาพู่

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 23,195.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้ดูแลและญาติมีความรู้ในการฟื้นฟูสุขภาพผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยเรื้อรัง มากกว่าร้อยละ 90
  2. ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยเรื้อรัง ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ หรือได้น้อยไม่เกิดแผลกดทับหรือข้อติด
  3. ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับบริการอุปกรณ์ที่นอนลมมากกว่าร้อยละ90
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่ รหัส กปท. L9256

อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่ รหัส กปท. L9256

อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 23,195.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................