กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเทาใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

พัฒนาการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเทาใหญ่

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเทาใหญ่

นางสาวบุญนิสา พ่อตาแสง

จำนวน 8 หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลหนองเทาใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขจากสาเหตุการตาย ๑๐ อับดับ จังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.๒๕๖๒ พบว่า โรคไตวายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับ ๒โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงก็พบว่าเสียชีวิตเป็นอันดับต้นๆ และจากความชุกของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบล.หนองเทาใหญ่.จังหวัดนครพนม ๓ ปีย้อนหลัง พบว่า มีอัตราเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.๘ ในปี ๒๕๕๙ ,ร้อยละ ๓.๒ ในปี ๒๕๖๒ และร้อยละ 3.5 ในปี ๒๕๖3 ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และหากควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมไม่ได้ ก็จะนำไปสู่การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ เช่น การเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคหัวใจขาดเลือด จอประสาทตาเสื่อม ปัญหาแผลเรื้อรังอาจต้องถูกตัดนิ้วหรือ ตัดขา หรือมีภาวะไตวายนำไปสู่การบำบัดทดแทนไตและภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งปัญหาภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ สามารถส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม รวมทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัวหากผู้ป่วยและครอบครัวต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตและรับความรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง

 

0.00
2 เพื่อพัฒนาระบบบริการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

0.00
3 ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

 

0.00
4 เพื่อลดอัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและลดชะลอ ความรุนแรงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากภาวะแทรกซ้อน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ประชาชน อายุ 35 ปี ขึ้นไป 1,509
แกนนำชุมชนและ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 70

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 แกนนำชุมชนและ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
แกนนำชุมชนและ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน ๗๐  คน X ๑ วัน x ๕๐ บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๗๐ คนX ๒ มื้อx๒๕  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมออกรณรงค์ปฏิบัติงานเชิงรุกในหมู่บ้าน ตรวจคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือด การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองภาวะซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำชุมชน และ อสม.ทุกหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมออกรณรงค์ปฏิบัติงานเชิงรุกในหมู่บ้าน ตรวจคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือด การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองภาวะซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำชุมชน และ อสม.ทุกหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมออกรณรงค์ปฏิบัติงานเชิงรุกในหมู่บ้าน ตรวจคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือด การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองภาวะซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำชุมชน และ อสม.ทุกหมู่บ้าน - ค่าอาหารกลางวัน๗๐คน X ๑ วัน x ๕๐ บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๗๐ คนX ๒ มื้อx๒๕ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมดำเนินงานชุมชนลดเค็ม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กินจืด ยืดชีวิต ให้ความรู้ในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 8 หมู่บ้าน 80 คน

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมดำเนินงานชุมชนลดเค็ม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กินจืด ยืดชีวิต ให้ความรู้ในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 8 หมู่บ้าน 80 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมดำเนินงานชุมชนลดเค็ม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กินจืด ยืดชีวิต ให้ความรู้ในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 8 หมู่บ้าน   80  คน - ค่าอาหารกลางวัน  80  คน X ๑ วัน x ๕๐ บาท  เป็นเงิน 4,000 บาท - ค่าอาหารว่างเครื่องดื่ม 80 คน X ๒ มื้อ x ๒๕ บาท เป็นเงิน  4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

กิจกรรมที่ 4 ค่าวัสดุการแพทย์ จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิต

ชื่อกิจกรรม
ค่าวัสดุการแพทย์ จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุการแพทย์ จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิต   เพื่อออกตรวจคัดกรองความดันโลหิต ในหมู่บ้าน  จำนวน 2 เครื่องๆละ 2,500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ร้อยละ๙๐ ของแกนนำชุมชน และ อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ทักษะและประสิทธิภาพในการการใช้แบบประเมินคัดกรองความเสายงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจ หลอดเลือดสมองคัดกรองโรคซึมเศร้า มะเร็งเต้านม สามารถใช้เทคนิคการเจาะปลายนิ้วการวัดความดันโลหิต ได้ถูกต้อง
๒.ร้อยละ 9๐ ประชาชนกลุ่มอายุ 3๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองภาวะซึมเศร้า
๓. ร้อยละ ๗๐ ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย DM/HTได้รับความรู้และติดตามตรวจซ้ำส่งต่อโรงพยาบาล
๔. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้และคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตาไต เท้า
๕. เกิดชุมชนลดเค็มต้นแบบ กินจืดยืดชีวิต


>