กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเทาใหญ่
วันที่อนุมัติ 1 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหนองเทาใหญ่ อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขจากสาเหตุการตาย ๑๐ อับดับ จังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.๒๕๖๒ พบว่า โรคไตวายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับ ๒โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงก็พบว่าเสียชีวิตเป็นอันดับต้นๆ และจากความชุกของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบล.หนองเทาใหญ่.จังหวัดนครพนม ๓ ปีย้อนหลัง พบว่า มีอัตราเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.๘ ในปี ๒๕๕๙ ,ร้อยละ ๓.๒ ในปี ๒๕๖๒ และร้อยละ 3.5 ในปี ๒๕๖3 ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และหากควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมไม่ได้ ก็จะนำไปสู่การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ เช่น การเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคหัวใจขาดเลือด จอประสาทตาเสื่อม ปัญหาแผลเรื้อรังอาจต้องถูกตัดนิ้วหรือ ตัดขา หรือมีภาวะไตวายนำไปสู่การบำบัดทดแทนไตและภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งปัญหาภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ สามารถส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม รวมทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัวหากผู้ป่วยและครอบครัวต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตและรับความรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง

 

0.00
2 เพื่อพัฒนาระบบบริการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

0.00
3 ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

 

0.00
4 เพื่อลดอัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและลดชะลอ ความรุนแรงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากภาวะแทรกซ้อน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,000.00 0 0.00
??/??/???? แกนนำชุมชนและ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 0 0.00 -
??/??/???? กิจกรรมออกรณรงค์ปฏิบัติงานเชิงรุกในหมู่บ้าน ตรวจคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือด การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองภาวะซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำชุมชน และ อสม.ทุกหมู่บ้าน 0 7,000.00 -
??/??/???? จัดกิจกรรมดำเนินงานชุมชนลดเค็ม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กินจืด ยืดชีวิต ให้ความรู้ในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 8 หมู่บ้าน 80 คน 0 8,000.00 -
??/??/???? ค่าวัสดุการแพทย์ จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิต 0 5,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ร้อยละ๙๐ ของแกนนำชุมชน และ อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ทักษะและประสิทธิภาพในการการใช้แบบประเมินคัดกรองความเสายงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจ หลอดเลือดสมองคัดกรองโรคซึมเศร้า มะเร็งเต้านม สามารถใช้เทคนิคการเจาะปลายนิ้วการวัดความดันโลหิต ได้ถูกต้อง ๒.ร้อยละ 9๐ ประชาชนกลุ่มอายุ 3๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองภาวะซึมเศร้า
๓. ร้อยละ ๗๐ ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย DM/HTได้รับความรู้และติดตามตรวจซ้ำส่งต่อโรงพยาบาล ๔. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้และคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตาไต เท้า ๕. เกิดชุมชนลดเค็มต้นแบบ กินจืดยืดชีวิต

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 พ.ค. 2564 23:49 น.