กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแก้งตาดไซอำเภอเกษตรสมบูรณ์จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแก้งตาดไซอำเภอเกษตรสมบูรณ์จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

รพ.สต.แก้งตาดไซ

คณะกรรมการ SRRT (ทีมควบคุมป้องกันโรคเคลื่อนที่เร็ว) ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแก้งตาดไซ จำนวน 6 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 10 คน รวมทั้งหมด 60คน

เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.แก้งตาดไซ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เนื่องจากในปัจจุบันนี้สถานการณ์โรคติเต่อในชุมชน กำลังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากการพัฒนาของเชื้อโรและการเปลี่ยนแปลของสภาวะแวดล้อม ทำให้เกิดการระบาดของโรคติดต่อต่างๆ และโรคอุบัติการณ์ใหม่มากขึ้น

 

60.00

ในการที่จะพัฒนางานเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดต่อในชุมชนจำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพ อสม.ที่เป็นแกนนำในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในหมู่บ้าน ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อการระบาดอาการและการป้องกันโรคเพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินงานในหมู่บ้านและการให้คำแนะนำ หรือประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านได้ถ้า อสม. มีความเข้มแข็งก็จะทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพโดยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง จะทำให้การดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดต่อในหมู่บ้านเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน วัด 3.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม 4.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 5.เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกพร้อมทั้งเกิดหมู่บ้านต้นแบบในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

1.  ผลการประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม  มีความรู้มากกว่าร้อยละ  80 2.  มีแนวทางการดำเนินงานการเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อในหมู่บ้าน

60.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแก้งตาดไซอำเภอเกษตรสมบูรณ์จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ชื่อกิจกรรม
โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแก้งตาดไซอำเภอเกษตรสมบูรณ์จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพทีมควบคุมป้องกันโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT )เป็นเงิน 9,900บาท     1.ค่าอาหารกลางวัน สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน (อบรมให้ความรู้และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์) จำนวน 60 คนๆ ละ 50บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ จำนวน 1 วัน        เป็นเงิน 3,000 บาท     2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน (อบรมให้ความรู้และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์) จำนวน 60 คนๆ ละ 25บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ จำนวน 1 วัน        เป็นเงิน 1,500  บาท 3. ค่าวัสดุสำนักงานในการอบรม                            เป็นเงิน  2,000 บาท 4. ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน 1  คน X  5 ชั่วโมง X ชั่วโมงละ 600 บาท        เป็นเงิน  3,000  บาท 5. ค่าป้ายไวนิลโครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ขนาด 1 × 4 เมตร ในตารางเมตรละ 100 บาท  จำนวน 1 ป้ายๆ ละ  400 บาท      เป็นเงิน  400    บาท

กิจกรรมที่ 2ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ เช่น หอกระจายข่าว ป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 2,400 บาท 1.ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ในชุมชน ขนาด 1× 4 เมตร ในตารางเมตรละ 100 บาท
จำนวน 6 ป้ายๆละ 400 บาท (จำนวน 6 หมู่บ้าน)                      เป็นเงิน 2,400 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น12,300บาท  (หนึ่งหมื่นสองพันสามร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
  2. มีภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานควบคุมป้องกันเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ที่มีประสิทธิภาพ
  3. การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
    และมีการดำเนินกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง 4.ประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคเลือดออกพร้อมทั้งมีความรู้ และตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก 5.เกิดหมู่บ้านต้นแบบในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
2. มีภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานควบคุมป้องกันเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ที่มีประสิทธิภาพ
3. การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
และมีการดำเนินกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
4.ประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคเลือดออกพร้อมทั้งมีความรู้ และตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
5.เกิดหมู่บ้านต้นแบบในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก


>