กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

กาหลงล้อมรั้ว ห่างไกลยาเสพติด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

ชมรมจิตอาสาเมืองดาหลา

1…น.ส.อาซีซะ อีซอประธานชมรม……
2…น.ส.จำเนียรจันทร์หวัดรองประธาน
3…น.ส.วรรณานาคะโรกรรมการ…
4…นายอับดุลอาหะมะเจ๊ะแอกรรมการ……………..
5…นายอาฮามะ ยูโซะกรรมการ

พื้นที่ตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี(คน)

 

90.00
2 จำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน(คน)

 

90.00
3 จำนวนผู้เสพยาเป็นครั้งคราวในชุมชน(คน)

 

20.00
4 จำนวนผู้ที่ได้รับการการตรวจคัดกรอง การประเมิน การวินิจฉัยและการวางแผนให้ความช่วยเหลือ(คน)

 

10.00
5 อัตราการเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาของผู้เสพและผู้ติดทั้งภาครัฐและเอกชน(ร้อยละ)

 

10.00
6 จำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน(คน)

 

0.00
7 ร้อยละของการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน

 

100.00
8 ร้อยละของการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน

 

100.00

ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้จัดประเภทของยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เป็นยาที่ไม่มีการนำมาใช้ในทางการแพทย์ และทำให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรในระดับรุนแรง เช่นเฮโรอีนยาบ้า ยาอี เป็นต้น
ประเภทที่ 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เป็นยาที่มีประโยชน์ในการรักษาโรคในระดับน้อยจนถึงมาก และทำให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรในระดับที่ต้องพึงระวัง เช่น มอร์ฟีน โคเคน โคเดอีน เป็นต้น
ประเภทที่ 3 ยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดให้โทษในประเภท 2 เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย ตามที่ได้ขึ้นทะเบียนตำรับไว้ เป็นยาที่ทำให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรน้อย แต่ยังคงมีอันตราย และมีประโยชน์ มากในการรักษาโรคเช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอีน เป็นต้น
ประเภทที่ 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 หรือประเภท2 เช่น อาเซติค แอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl Chloride)
ประเภทที่ 5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้อยู่ในประเภทที่1 ถึงประเภทที่4เช่น กัญชา พืชกระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
ในพื้นที่ของตำบลกาหลงมีเยาวชนและผู้ที่ไม่ได้เป็นเยาวชนติดยาเสพติดจำนวนมากและทำให้มีการลักขโมยและการทำร้ายร่างกายของคนในครอบครัวและมีอารมณ์รุนแรงในครอบครัว ไม่ทำงานเกิดปัญหาสังคมในชุมชน ในการนี้ชมรมจิตอาสาเมืองดาหลาป่าไผ่ ดูแลเรื่องการให้ความรู้การนำชักนำผู้ติดยาเสพติดเข้าบำบัดตามโครงการญาลันนันบารู ดังนั้นจึงจัดทำโครงการป่าไผ่ล้อมรั้ว ห่างไกลยาเสพติดขึ้น เพื่อให้ความรู้และชัดนำโดยการพูดจูงใจเพื่อเข้าบำบัดลดปัญหาของชุมชนตำบลกาหลง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี

จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)

90.00 1.00
2 เพิ่มอัตราการเข้าถึงระบบการบำบัดรักษาภาครัฐของผู้เสพและผู้ติด

อัตราการเข้าถึงระบบการบำบัดรักษาภาครัฐของผู้เสพและผู้ติดในชุมชนเป็นไปอย่างทั่วถึงเพิ่มมากขึ้น(ร้อยละ)

10.00 1.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน

จำนวนผู้ที่ผ่านการบำบัดและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

0.00 1.00
4 เพื่อลดจำนวนผู้เสพยาเป็นครั้งคราวในชุมชน

จำนวนผู้เสพยาเป็นครั้งคราวในชุมชน ลดลงเหลือ(คน)

20.00 1.00
5 เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน

จำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน ลดลงเหลือ(คน)

90.00 1.00
6 เพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน

อัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)

100.00 1.00
7 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ได้รับการการตรวจคัดกรอง การประเมิน การวินิจฉัยและการวางแผนให้ความช่วยเหลือ

จำนวนผู้ที่ได้รับการการตรวจคัดกรอง การประเมิน การวินิจฉัยและการวางแผนให้ความช่วยเหลือ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

10.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2021

กำหนดเสร็จ 31/12/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเคาะประตูเยี่ยมเยียน ประชาสัมพันธ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเคาะประตูเยี่ยมเยียน ประชาสัมพันธ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าตอบแทน (ผู้เยี่ยมเยียน)   10 คน ๆ ละ  50 บาท เป็นเงิน   12,000 บาท
-ชุดกิ๊ฟเซ็ท 150 บาท    60 คน   เป็นเงิน  9,000 บาท
-ค่าฟิวเจอร์บอร์ดสื่อยาเสพติด  10x30  เป็นเงิน 300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ติดยาและผู้ปกครองได้รับความรู้และจักนำของมารับประทานเพื่อบรรเทาอาการได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21300.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมกลุ่มติดยาเสพติดกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
อบรมกลุ่มติดยาเสพติดกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าวิทยากร  400 บาท 2 คน  เป็นเงิน 6,400 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน  50 บาท30 คน 2วัน 4 มื้อ  เป็นเงิน 12,000 บาท
-ค่าอาหารว่าง 25 บาท 30 คน 5 มื้อ  เป็นเงิน 3,750 บาท
-ค่าวัสดุ  7,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เยาวชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีรักษาให้เลิกยาได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
29650.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 50,950.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เยาวชนผู้ติดยาเสพติดเข้าบำบัดตามโครงการโดยการชักนำของจิตอาสาเมืองดาหลา
2.ลดปัญหาสังคมในตำบลกาหลง เช๋น การลักขโมย การทำร้ายร่างกาย
3.ลดปัญหาครอบครัวไม่มีการทะเลาะในครอบครัว


>