กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันและแก้ไขโรคขาดสารไอโอดีน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัน อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันและแก้ไขโรคขาดสารไอโอดีน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัน อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัน อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ

68

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัน ตำบลบ้านหัน อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สารไอโอดีนมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาสมองทารกที่อยู่ในครรภ์ต้องการสารไอโอดีนจากมารดาในการเพิ่มจำนวนและขนาดเซลล์สมองและช่วยสร้างโครงข่ายใยประสาทที่ต่อเชื่อมถึงกันสร้างปลอกหุ้มเซลล์ใยประสาทอย่างต่อเนื่อง ส่วนในวัยผู้ใหญ่หากขาดสารไอโอดีนจะทำให้กลายเป็นคนเซื่องซึม เฉื่อยชา ประสิทธิภาพการทำงานลดลง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อตรวจประเมินคุณภาพเกลือไอโอดีนที่ใช้ในครัวเรือนในเขตรับผิดชอบตำบลบ้านหัน
2.เพื่อให้ความรู้และตระหนักเรื่อง โรคขาดสารไอโอดีน การเก็บรักษาเกลือไอโอดีน การเลือกซื้อเกลือไอโอดีน ในเขตรับผิดชอบตำบลบ้านหัน แกนนำ3.เพื่อส่งเสริมการใช้เกลือไอโอดีนในชุมชน
4.เพื่อสนับสนุนธนาคารไอโอดีนในหมู่บ้าน และส่งเสริมการจัดตั้งหมู่บ้านไอโอดีน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 31/10/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันและแก้ไขโรคขาดสารไอโอดีน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัน อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ2563

ชื่อกิจกรรม
โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันและแก้ไขโรคขาดสารไอโอดีน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัน อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ2563
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม 1.อบรม อสม.แกนนำหมู่บ้านๆละ 4 คน จำนวน 68 คน 2.แจกอุปกรณ์ตรวจคุณภาพเกลือไอโอดีน ให้แกนนำ อสม.นำไปสุ่มตรวจ 1,360 หลังคาเรือน (หมู่ละ 80 หลังคาเรือน) 3.สนับสนุนจัดตั้งธนาคารเกลือไอโอดีนในแต่ละหมู่บ้าน 4.สนับสนุนจัดตั้งหมู่บ้านไอโอดีน


งบประมาณ 1.ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรมจำนวน 68 คนๆละ 50 บาท จำนวน ๑ วัน เป็นเงิน3,400บาท 2.. ค่าอาหารว่างผู้เข้าอบรม จำนวน 68 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 3,400 บาท
3. ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 1 คนๆละ4 ชั่วโมงๆละ 600บาท เป็นเงิน 2,400 บาท 4. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ผืน ขนาด 2 x3 ตารางเมตรๆละ 100 บาท เป็นเงิน600บาท ๕. ค่าอุปกรณ์ตรวจคุณภาพเกลือไอโอดีน ( i-kid )จำนวน 17 กล่องๆละ 260 บาทเป็นเงิน 4,420 บาท รวมทั้งสิ้น14,220 บาท ตัวอักษร (หนึ่งหมื่นสี่พันสองร้อยยี่สิบบาทถ้วน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 100 ของหมู่บ้านในตำบลบ้านหันมีธนาคารเกลือไอโอดีน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14220.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,220.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบตำบลบ้านหันตระหนักถึงการใช้เกลือไอโอดีน
2. ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบตำบลบ้านหันใช้เกลือไอโอดีนเพิ่มมากขึ้น
3. อสม.แกนนำมีความรู้เรื่องเกลือไอโอดีน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่แก่ชุมชนได้อย่างถูกต้อง
4. ทุกหมู่บ้านมีการจัดตั้งธนาคารไอโอดีน


>